คลังเก็บป้ายกำกับ: สถิติการวิเคราะห์

ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_เทคนิคการทำงานวิจัย_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส

3 Key Success ในการทำธีสิส (Thesis)

ในการทำ Thesis (ธีสิส)  แต่ละครั้งนั้น ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นกับนักวิจัยมือใหม่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้

เรียนรู้ 3 key success ที่จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสามารถลดระยะเวลาในการทำงานวิจัย และลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อีกด้วย

1. ต้องมีการอ้างอิงทุกครั้ง

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ในการเขียนงานวิจัยนั้นจำเป็นจะต้องมีการอ้างอิงทุกย่อหน้า หรือมีการอ้างอิงท้ายย่อหน้าแทรกอยู่ภายในเนื้อหาของงานวิจัย และแหล่งอ้างอิงที่นำมาใช้นั้นจะต้องเป็นแหล่งอ้างอิงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวิจัย เพื่อพัฒนาต่อยอดความรู้ให้สูงขึ้นได้

โดยเฉพาะการทำ Thesis แต่ละครั้งจำเป็นที่จะต้องใช้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากต่างประเทศมาเป็นแหล่งข้อมูลสนับสนุนงานวิจัยดังกล่าว เพื่อสะท้อนว่าเนื้อหาของงานวิจัยนั้นผ่านการกลั่นกรอง บูรณาการข้อมูลมาแล้ว ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ที่อ่านงานวิจัยของท่านและการพัฒนาตัวท่านเองอีกด้วย

2. ตัวแปรที่ใช้อ้างอิงควรมีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

หลายท่านที่นำข้อมูลในการทำ Thesis มาจากแหล่งข้อมูลที่เป็นเว็บไซต์ทั่วไปซึ่งเป็นข้อมูลที่ทันสมัย แต่มีความเป็นวิชาการน้อย

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เนื่องจากปัจจุบันสามารถใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ Block หรือ Youtube มาอ้างอิงในการทำงานวิจัย หรือการทำ Thesis  ได้ก็จริง แต่แหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านี้จะมีปัญหาตรงเนื้อหาข้อมูลไม่มีน้ำหนักมากพอในการนำมาใช้อ้างอิงในงาน Thesis หรืองานวิจัยต่างๆ ได้ส่งผลให้ไม่สามารถเชื่อถือข้อมูลงาน Thesis ได้ดังกล่าวได้ 100% 

ฉะนั้นแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหน่วยงานที่เป็นองค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานระดับภาคเอกชนที่มีความน่าเชื่อถือในระดับสากลและเป็นที่ยอมรับของสังคม อีกทั้งแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจำเป็นที่จะต้องมีความชัดเจน หรือผู้มีตำแหน่งที่เกี่ยวข้องทางวิชาการให้การยอมรับ 

3. กลุ่มตัวอย่างต้องให้ความร่วมมือ

กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มที่ให้ข้อมูลสำคัญในการทำ Thesis แต่ละเล่มนั้น จำเป็นที่จะต้องเต็มใจให้ความร่วมมือ ในการตอบแบบสอบถาม หรือตอบแบบสัมภาษณ์ 

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งจะต้องให้ความสำคัญและคำนึงถึงกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลว่า กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นใครนั้น จะทำให้ได้รับความร่วมมือในการเก็บข้อมูลพร้อมกับได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงประเด็น และน่าเชื่อถือ

ดังนั้น 3 Key success ของการทำ Thesis นั้นจำเป็นต้องคำนึงถึง การใช้แหล่งอ้างอิงว่าควรจะใช้ในรูปแบบไหน ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดคือการใช้อ้างอิงทุกย่อหน้า และมีมากกว่า 1 แหล่งอ้างอิงขึ้นไป โดยจะต้องมีแหล่งอ้างอิงที่มาจากต่างประเทศด้วย รวมถึงการได้ข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย และได้รับความร่วมมือจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญนั้นเป็นอย่างดี จึงจะทำให้การทำ Thesis นั้นมีคุณภาพ และถูกต้องตามหลักทางวิชาการ

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

เทคนิคการสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที

ในบทความนี้จะเป็นเทคนิค 3 ข้อ การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที ทั้งยังสามารถเป็นแนวทางเพื่อพัฒนาการสร้างแบบสอบถามของงานวิจัยสำหรับผู้วิจัยมือใหม่ได้อีกด้วย

1. กำหนดแต่ละส่วนตามตัวแปรที่ใช้ในกรอบแนวคิดการวิจัย

ในงานวิจัยที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนใหญ่แล้วจะต้องมีกรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เพื่อให้สามารถกำหนดตัวแปรย่อยหรือองค์ประกอบย่อยของแต่ละส่วนงานได้ต่อไป

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นในการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย โดยเริ่มจากการกำหนดตัวแปรต้น และสร้างข้อคำถามที่เกี่ยวข้องไล่มาตามลำดับของตัวแปรต้น 

เช่น สมมติว่ามีปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดเป็นตัวแปรต้น ก็จะกำหนดข้อคำถามโดยเริ่มตั้งแต่ปัจจัยส่วนบุคคลไล่ลงมาที่ทัศนคติและปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดตามลำดับ แล้วค่อยกำหนดตัวแปรตามในลำดับถัดมา

2. สังเคราะห์จากนิยามศัพท์

เมื่อสามารถสร้างข้อคำถามในแต่ละส่วนตามกรอบแนวคิดการวิจัยได้แล้ว ควรมีการนำเนื้อหามาเขียนเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ขึ้นมา เนื่องจากว่านิยามศัพท์จะต้องสะท้อนถึงข้อคำถามที่นำมาสังเคราะห์จากตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยได้ด้วย

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น หากท่านสามารถสร้างข้อคำถามที่สอดคล้องกับนิยามศัพท์ได้ โดยตั้งเป็นข้อคำถามในแบบสอบถามงานวิจัยก่อน แล้วจึงนำเนื้อหาจากข้อคำถามของแบบสอบถามนั้นมาเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ จะทำให้ทั้งสองส่วนนั้นมีความสอดคล้องกันและไม่จำเป็นต้องมาแก้ไขในภายหลัง

3. มีข้อคำถามปลายเปิด

แบบสอบถามที่ดีที่สุดจำเป็นจะต้องมีการเปิดให้เสนอความคิดเห็นที่เกี่ยวกับหัวข้อที่ทำการศึกษาวิจัย เช่น ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบริการหรือผลิตภัณฑ์นั้น จำเป็นจะต้องมีการเปิดให้กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องานวิจัยดังกล่าวได้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เพื่อที่จะนำข้อคิดเห็นที่สำคัญจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวนั้นมาเขียนเป็นข้อเสนอแนะ หรือนำมาสรุปเป็นผลการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการนำเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในครั้งถัดไปได้

ดังนั้นการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงจำเป็นจะต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย ไล่เรียงตามลำดับตัวแปร และมีองค์ประกอบย่อยที่แสดงผลอย่างชัดเจน 

หากท่านสามารถสร้างแบบสอบถามจากกรอบแนวคิดการวิจัยได้ ก็จะทำให้ท่านได้รับความสะดวกในการเขียนเนื้อหางานวิจัยในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสามารถที่จะออกแบบแบบสอบถามโดยสำเร็จได้ในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทำงานวิจัยในส่วนอื่นๆ ต่อไป

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สัญลักษณ์สถิติเบื้องต้นที่คุณควรรู้

“สัญลักษณ์สถิตินี้มีความความว่าอย่างไร?” 
“สัญลักษณ์สถิตินี้เป็นสถิติประเภทไหน?”

ความจริงที่ว่าคุณไม่จำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์สถิติได้ แค่รู้ในขั้นพื้นฐาน ให้สามารถทำการอธิบายได้ว่าในงานวิจัยที่คุณทำการศึกษานั้นใช่สถิติอะไรในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบคำถามของงานวิจัย

ฉะนั้น บทความนี้เราจะมาตอบคำถามที่ทางทีมงานของบริษัทฯ เราเจอเป็นประจำเกี่ยวกับสัญลักษณ์สถิติ ซึ่งเป็นคำถามที่ลูกค้าสอบถามเข้ามาบ่อยมาก และรวมถึงคุณเองที่ก็สงสัย และอยากได้คำตอบนั้นเหมือนกัน 

รวบรวมสัญลักษณ์สถิติที่ หรือคุณทำกำลังศึกษาเกี่ยวกับสถิติควรต้องรู้ ซึ่งจะแบ่งสัญลักษณ์ตามประเภทสถิติ เพื่อไม่ให้สับสน ได้ดังนี้

1. สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา

สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_วิเคราะห์-SPSS_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_วิเคราะห์-SPSS_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

จะเห็นได้ว่าแต่ละสัญลักษณ์สถิตินั้นมีความหมายที่ชัดเจนต่างกันออกไป และคงจะคลายข้อสงสัยของคุณไปได้ไม่น้อยเลยทีเดียว อีกทั้งสามารถนำใช้ประโยชน์ได้เลยไม่ว่าจะตอนขึ้นสอบ หรือตอนตอบคำถามกับอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยได้อย่างมั่นใจได้อีกด้วย

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss

วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS จ้างอย่างไรดี ที่นี่มีคำตอบ!

หากคุณเป็นผู้ทำวิจัยในหัวข้อทางด้านสังคมศาตร์ และต้องการหาโปรแกรมที่สามารถวิเคราะห์สถิติและแสดงผลในรูปแบบต่างๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตาราง แผนภูมิ กราฟ และการทำนายค่าทางสถิติเบื้องต้น ไปจนถึงขั้นสูง คงหนีไม่พ้นโปรแกรม SPSS 

เพราะโปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติเป็นอย่างดีเสมอไป เพียงแค่มีความรู้สถิติเบื้องต้น เช่น ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าฐานนิยม และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก็สามารถนำมาประยุกต์เพื่อนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจ สามารถตอบโจทย์งานวิจัยได้เป็นอย่างดี 

ซึ่งเหมาะสำหรับผู้วิจัยที่ต้องการประมวลผลข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ดังนั้นผลตัวเลขที่ได้จากโปรแกรม SPSS จึงนิยมนำมาใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจของผู้บริหาร การวิเคราะห์การตลาดเบื้องต้น รวมถึงการวิเคราะห์ทัศนคติ และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างได้เป็นอย่างดี หากผู้ใช้นำมาประยุกต์จะสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และ ในปัจจุบันโปรแกรม SPSS ได้มีการพัฒนาขึ้น จนสามารถตอบสนองผู้ใช้งานให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น สามารถรองรับการคีย์ข้อมูลที่เป็นภาษาไทยได้ และสามารถดึงฐานข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาวิเคราะห์ข้อมูลได้ง่าย จึงทำให้โปรแกรม SPSS เป็นที่นิยมมากในหมู่ของนักสถิติ และนักวิจัย 

แต่กระนั้นก็มีผู้ทำวิจัยหลายท่านที่ไม่มีเวลาในการทำงานวิจัยในขั้นตอนนี้ อาจเนื่องจากภาระหน้าที่จากงานประจำ มีโรคประจำตัว ไม่ถนัดทางด้านสถิติ หรือต้องดูแลครอบครัว จึงอาจต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้รับช่วงต่อ เพื่อให้งานเสร็จทันเวลา ซึ่งก่อนการตกลงจ้างคุณควรมีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูลโปรแกรม SPSS ดังนี้

1. ผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูล มีสถานที่การทำงานเป็นหลักแหล่งหรือไม่

สิ่งแรกที่ลูกค้าส่วนใหญ่มักถามเราเป็นอันดับแรก คือ มีสถานที่การทำงานอยู่ที่ไหน ซึ่งเป็นคำถามที่ทีมงานทุกท่าน โดนถามอยู่เป็นประจำ ถึงแม้ว่าบริษัทฯ จะรับวิเคราะห์ผลมามากกว่า 8 ปี แล้วก็ตาม นั่นเป็นสิ่งที่ลูกค้าตั้งใจจะถาม เพื่อสร้างความมั่นใจก่อนเริ่มทำงาน และเพื่อให้รู้ว่ามีตัวตนจริง ไม่ใช่มิจฉาชีพ 

ดังนั้น ก่อนเริ่มว่าจ้างงานอาจจะต้องมีการตรวจสอบว่า ผู้รับวิเคราะห์ผลมีสถานที่ทำงานเป็นหลักแหล่งจริงหรือไม่ บริษัทอยู่ที่ไหน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการว่าจ้าง

2. มีความรู้ทางด้านสถิติจริง

การตกลงว่าจ้างวิเคราะห์ผลข้อมูล เป็นบริการที่หลายๆ ท่านหันมาใช้บริการเพื่อลดระยะเวลาในการวิจัยของตัวเอง เนื่องจากการวิเคราะห์ข้อมูลต้องใช้บุคคลหลายคนทำงานร่วมกัน เช่น การกรอกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผลข้อ การตรวจสอบข้อมูล ทุกกระบวนการจะต้องอาศัยความชำนาญสูงในการตรวจสอบตัวเลข เพราะจะต้องอยู่กับตัวเลขหลายๆ ตัวรวมกัน 

ดังนั้นเพื่อให้งานเสร็จทันเวลาที่กำหนดไว้ ผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS จะต้องมีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านสถิตินั้นจริงด้วย เพราะจะต้องสามารถรู้กระบวนการได้มาของตัวเลขดังกล่าวเป็นอย่างดี เมื่อลูกค้าสอบถาม ผู้วิเคราะห์จะต้องสามารถตรวจสอบ และตอบคำถามได้ทันที ฉะนั้นการเลือกผู้ให้บริการจึงมีผลต่องานของคุณเป็นอย่างมาก

3. มีผล Output ของโปรแกรม SPSS ให้

ในการวิเคราะห์ผลข้อมูลทุกครั้ง โปรแกรม SPSS จะแสดงผล Output เพื่อให้ผู้วิเคราะห์ผลข้อมูลสามารถนำไปประมวลผลให้ออกมาในรูปแบบตาราง และบรรยายข้อมูลออกมา เพื่อให้ผู้อ่านงานวิจัยสามารถเข้าใจผลการวิจัยได้ง่ายขึ้น ซึ่งหากผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูลท่านใดไม่มี Output จากโปรแกรม SPSS ให้สันนิษฐานได้เลยว่าตัวเลขที่ได้มานั้นมีการคัดลอกจากที่อื่นมา หรือมั่วตัวเลขขึ้นมานั่นเอง

ดังนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลจากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS ที่ถูกต้อง และรวดเร็ว คุณควรใช้บริการกับบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือ มีสถานที่ทำงานเป็นหลักแหล่ง มีผู้เชี่ยวชาญในการให้บริการ และมีผล Output จากโปรแกรม SPSS มอบให้ เพื่อการันตีผลงาน

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent

T – test dependent กับ T – test independent นั้นแตกต่างกันอย่างไร?

ถ้าพูดถึงสถิติ T – test หลายคนๆ คงจะคุ้นๆ หู กับคำว่า T – test dependent และ T – test independent  กันมาบ้างแล้ว

ในบทความนี้จะมาบอกถึงความแตกต่างของสถิติ T – test ทั้ง 2 ตัวนี้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และ สถิติ T – test dependent กับ สถิติ T – test independent ควรนะไปใช้ในสถานการณ์ใดบ้าง โดยสามารถแยกย่อยเป็น 2 ประเด็น ดังนี้…

1. สถิติ T – test dependent

สถิติ T – test dependent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง ในกลุ่มเดียวกัน ที่มีขนาดน้อยกว่า 30 คน (n<30) ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจัยเชิงทดลอง 

และในบางครั้ง สถิติ T – test dependent สามารถเรียกอีกชื่อว่า “สถิติ Paired Samples T-test” สาเหตุนี้มากจาก Paired Samples T-test นั้นเป็นชื่อคำสั่งบนแถบเมนูในโปรแกรม SPSS เวลาที่ผู้วิจัยเริ่มทำการวิเคราะห์สถิติ T – test dependent ซึ่งเป็นภาษาที่นักวิจัยพูดกันเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน นั่นเอง

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น สถิติ T – test dependent  ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจัยของ สาขาวิชาครูทุกสาขาวิชา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์บางสาขาวิชา ที่ต้องมีการเปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลอง เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการทำงาน

ในสาขาวิชาครูจะเห็นบ่อยมาก เช่น การเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนกลุ่มเดียวกัน ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ 

ส่วนสาขาวิทยาศาสตร์ เรามักจะเห็นในงานทดลอง เพื่อทดสอบในสิ่งที่ทีมวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์กำลังทดลองสิ่งนั้นอยู่ เช่น การทดสอบประสิทธิผลไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการผลิตน้ำยาฆ่าเชื้อเพื่อฉีดพ่นเชื้อโควิด 19 (COVID-19) ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่

สูตรของสถิติ T – test dependent จึงสามารถแสดงได้ ดังนี้

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2.  สถิติ T – test independent

ส่วน สถิติ T – test independent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน โดยข้อตกลงเบื้องต้นของสถิตินี้ กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มจะต้องไม่สัมพันธ์กันหรือเป็นอิสระต่อกัน อีกทั้งค่าของตัวแปรตามในแต่ละหน่วยต้องเป็นอิสระต่อกัน 

และกลุ่มตัวอย่างได้มาต้องสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติด้วย ผู้วิจัยจะเห็นการใช้สถิตินี้ใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม โดยอาจเปรียบเทียบได้ทั้งค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน เช่น การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม เมื่อมีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ 

ส่วนใหญ่ผู้วิจัยจะเห็นการใช้ สถิติ T – test independent ได้ในทุกสาขาวิชา เช่น การเปรียบเทียบปัจจัยประชาศาสตร์ ด้านเพศ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในเซเว่น สาขาบางนา แตกต่างกัน

สูตรของสถิติ T – test independent จึงสามารถแสดงได้ ดังนี้

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สถิติ T – test dependent และ T – test independent แตกต่างกันที่ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ความเป็นอิสระของตัวแปร และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com

งานวิจัย กับ การทดสอบสถิติ T-test

“ทำไมเราถึงต้องทดสอบสถิติ T-test”

ถ้าหากผู้วิจัยจะทำงานวิจัยสายการตลาดสักชิ้นหนึ่ง เพื่อวิเคราะห์ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดที่ผู้วิจัยอยู่ คงหนีไม่พ้นที่ต้องทำการวิเคราะห์ ปัจจัยประชากรศาสตร์ ซึ่งปัจจัยด้านเพศ แต่ละบุคคลนั้นก็มีความต้องการที่แตกต่างกันไป อาจมาจากประสบการณ์ที่ผ่านมา สภาพสังคม การใช้ชีวิต ความชอบ วัฒนธรรม เป็นต้น

สถิติ T-test จึงถือได้ว่าถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการทดสอบ เพื่อให้ผลวิจัยมีความชัดเจนมากยิ่ง ซึ่งกฎของสถิติ T-test ได้กล่าวว่า ตัวแปรที่ผู้วิจัยต้องการจะทดสอบต้องมี 2 ตัวแปร เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ที่มีความสัมพันธ์กันหรือเป็นอิสระต่อกัน เช่น 

ตัวแปรเพศ

เพศชาย กับ เพศหญิง 

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ตัวแปรช่วงเวลา

ช่วงเวลาวันลาพักร้อน กับ วันหยุดตามเทศกาล

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ตัวแปรการกลับมาเที่ยว

จะกลับมาเที่ยวอีก กับ ไม่กลับมาเที่ยวอีก

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ตัวแปรการวางแผน

มีการวางแผนล่วงหน้าในการจองที่พัก กับ ไม่มีการวางแผนล่วงหน้า 

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

“แล้วสถิติ T-test จะใช้ทดสอบงานวิจัยสายการตลาดได้อย่างไร”

จากข้อมูลการวิเคราะห์สถิติ T-test เป็นการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนที่ส่งผลต่อการมาท่องเที่ยวเมืองพัทยา ดังนั้นผู้วิจัย ที่เป็นผู้ประกอบอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว คงมองภาพออกว่าท่านจะสามารถนำผลการวิเคราะห์ สถิติ T-test มาวิเคราะห์การตลาดอย่างไร

ยกตัวอย่าง การอธิบายผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์ของสถานที่ท่องเที่ยวในเมืองพัทยา พบว่า นักท่องเที่ยวจีน เพศชายส่วนใหญ่ชอบมาเที่ยวเมืองพัทยาช่วงวันลาพักร้อน และมีแนวโน้มที่มาเที่ยวอีก โดยจะต้องมีการวางแผนล่วงหน้าในการจองที่พัก

“แล้วข้อมูลนี้สามารถนำไปใช้อะไรได้บ้าง ทางการตลาด”

สำหรับข้อมูลความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนที่มีต่อการมาท่องเที่ยวเมืองพัทยาข้างต้น อย่างน้อยผู้ประกอบการที่พักจะรู้จักกลุ่มลูกค้าของตนเองมากยิ่งขึ้น และการทำ Ads โฆษณาไปที่กลุ่มเป้าหมายนี้จะทำให้มีโอกาสในการตัดสินใจจองห้องพักมากกว่ากลุ่มอื่นๆ 

นอกจากด้านผลิตภัณฑ์ที่พักแล้ว ผู้ประกอบการ อากจะต้องสอบถามความพึงพอใจด้านอื่น เช่น ด้านพนักงาน ด้านราคา ด้านโปรโมชั่น เป็นต้น เพื่อนำมาทำโฆษณาส่งเสริมการตลาดต่อไป

จึงสามารถสรุปได้ว่า การวิจัยโดยการทดสอบสถิติ T-test สามารถใช้ในการทดสอบสมมติฐานเพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกของกลุ่มลูกค้าได้เป็นอย่างดี ส่วนใหญ่สถิติ T-test จะใช้กับการวิเคราะห์ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การตลาด เป็นต้น

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
โปรแกรม SPSS_SPSS_ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

5 กฎข้อห้ามของ SPSS ที่หลายคนยังไม่รู้!

ในโปรแกรม SPSS มีกฎมากมายที่หลายยังไม่รู้ซ่อนอยู่ หากคุณเป็นมือใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้ SPSS แน่นอนคุณอาจจะไม่มีทางรู้เลยว่ามีกฎนี้อยู่ด้วย 

ในบทความนี้ทางเราได้หยิบยก กฎข้อห้ามบางส่วน 5 ข้อจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติ ที่คุณต้องพบเจอหากเป็นมือใหม่ที่ไม่เคยใช้โปรแกรม SPSS มาก่อน เพื่อเวลาเปิดใช้จะได้ไม่พบเจอปัญหา Eror หรือเปิดไฟล์ไม่ได้ 

1. คุณจะเปิดไฟล์นามสกุล .sav และ .spv ไม่ได้ถ้าเครื่องของคุณยังไม่ได้ลงโปรแกรม SPSS

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ถ้าคุณเปิดมาเจอบทความนี้แสดงว่าคุณกำลังจะหาทางเปิดไฟล์ .spv และ .sav อยู่ใช่ไหม? 

ถ้าหากว่าใช่ในหัวข้อนี้จะอธิบายให้กระชับและเข้าใจง่ายที่สุด

ไฟล์นามสกุล .sav และ .spv เป็นไฟล์ที่มาจากโปรแกรม SPSS ดังนั้นหากคุณจะเปิด 2 ไฟล์ นี้ควรลงโปรแกรม SPSS ก่อนถึงจะเปิดได้ตามปกติ

และนอกจากนั้น 2 ไฟล์นี้จะเปิดได้เฉพาะบนเครื่องคอมพิวเตอร์ PC เท่านั้น!! และเครื่องที่ใช้เปิดไฟล์ดังกล่าวจะต้องใช้ Windows ต่อไปนี้ Windows 10, Windows 7, Windows 8 / 8.1, Windows Vista หรือ Windows XP

2. คุณไม่สามารถเปิดไฟล์ SPSS เวอร์ชั่นล่าสุด บนเครื่องที่เวอร์ชั่นเก่ากว่าได้

ปัญหานี้มักจะเจอกับผู้ใช้โปรแกรมที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป หากคุณไม่รู้ไม่ใช่เรื่องที่ผิดเพราะว่าในปัจจุบันโปรแกรม SPSS มีการปรับประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเสมอ จึงมีการอัพเดทเวอร์ชั่นใหม่ๆ อยู่เรื่อยๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการคำนวณให้รวดเร็ว และแม่นยำมากขึ้น 

ดังนั้นคนที่ไม่ได้ใช้ทุกวันจึงใช้เวอร์ชั่นเดิมที่ตนเองเคยชิน เนื่องจากเมนูคุ้มมือ คุ้นตา ซึ่งเวอร์ชั่นเก่าสุดที่บริษัทเคยสอบถามลูกค้าคือ SPSS เวอร์ชั่น 17 จึงพบปัญหาเปิดไฟล์ไม่ได้เมื่อสลับเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้อีกเครื่องที่มีโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่นใหม่กว่า

3. การกำหนดรหัสตัวแปรจะแทนค่าด้วยตัวอักษรไม่ได้

การกำหนดรหัสตัวแปรทุกครั้ง จะต้องกำหนดในช่อง Values หากตัวแปรเป็นตัวอักษรจะต้องแปลงเป็นรหัสตัวเลขก่อน เพื่อให้โปรแกรมนำตัวเลขไปวิเคราะห์ผลได้สะดวกขึ้น 

เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กําหนดให้ ‘เพศชาย’ มีค่าเท่ากับ 1 และ ‘เพศ หญิง’ มีค่าเท่ากับ 2 เป็นต้น

4. การตั้งชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง และมีอักขระพิเศษ โดยเด็ดขาด

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name โปรแกรม SPSS อนุญาตให้ตั้งชื่อที่เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่สิ่งที่ห้ามทำอีก 2 อย่างในการตั้งคือ

– ห้ามมีการเคาะเพื่อให้เกิดช่องว่าง

– ใช้อักษรพิเศษอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวอักษรหรือตัวเลข  เช่น  ? ,   + ,   – ,   * ,   / ,  …  ยกเว้นเครื่องหมาย  _ (underscore) 

หากฝืนกฎโปรแกรมจะแจ้ง Error ทันที!!

5. ห้ามตั้งชื่อที่มีความยาว 8 ตัวอักษร

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name นั้นนอกจาก SPSS จะไม่ให้มีการเคาะช่องว่างและตัวอักษรพิเศษแล้ว สิ่งสำคัญคือการตั้งชื่อต้องมีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร ดังนั้นข้อคำถามที่ยาวมากๆ จะต้องใช้รหัสแทน ผู้วิจัยควรมีตารางกำหนดรหัสดังนี้

ข้อคำถามลงรหัส
ด้านราคาPrice
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาเหมาะสมA1
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาถูกเมื่อเทียบกับร้านอื่นA2

อย่างไรแล้วกฎข้อห้ามบางข้อที่กล่าวมาข้างต้น อาจมีเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับการพัฒนาของโปรแกรม SPSS ดังเช่น SPSS รุ่นเก่าๆ ที่ไม่สามารถตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาไทยได้เลย แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงให้ใช้ภาษาไทยได้แล้ว อนาคตอาจจะมีการปรับปรุงให้มีการตั้งชื่อตัวแปรที่ยาวกว่า 8 ตัวอักษรก็เป็นไปได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
แบบสอบถาม_สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_รับทำแบบสอบถาม

รับจ้างทําแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลงานวิจัย

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญ ในการได้มาซึ่งผลการวิจัย หากข้อคำถามในแบบสอบถามสามารถตั้งคำถามได้ดี ก็จะทำให้คุณสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมหาศาล

ดังนั้นการตั้งคำถามจึงมีความสำคัญมาก หากตั้งคำถามที่ตรงกับลักษณะพฤติกรรม หรือทัศนคติของผู้ตอบ ก็จะทำให้ได้แนวทางในการพัฒนาผลงานวิจัย และนำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ดี

โดยเฉพาะแบบสอบถามทางด้านการตลาด เช่น การสอบความเหมาะสมของราคาผลิตัณฑ์ ซึ่งอาจตั้งคำถามว่า

“ท่านคิดว่าราคาที่ท่านจ่าย กับคุณภาพที่ได้รับของสินค้านั้น มีความเหมาะสมหรือไม่” 

เมื่อได้คำตอบ ผู้ประกอบการสามารถนำแนวทางการตอบ ไปเเป็นแนวทางการตั้งราคาที่เหมาะสม ที่ผู้บริโภคยอมจ่ายสินค้านั้นง่ายขึ้นได้  

ในการรับทำแบบสอบถามทางบริษัทฯ ต้องทราบวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้างก่อนว่าต้องการสร้างแบบสอบถามขึ้นมาเพื่อใช้ในงานใด และกลุ่มตัวอย่างที่จะตอบเป็นกลุ่มใด เพื่อการตั้งคำถามที่นำมาซึ่งคำตอบตามวัตถุประสงค์ 

ดังนั้นบทความนี้คุณจะทราบถึงขั้นตอนการรับจ้างทำแบบสอบถาม ของบริษัทฯ ตามขั้นตอนนี้

1. ผู้รับทำแบบสอบถาม ต้องทราบวัตถุประสงค์ของการวิจัยก่อน

เหตุที่ต้องทราบวัตถุประสงค์ในวิจัยก่อน เพราะวัตถุประสงค์การวิจัย ทำให้รู้ว่าผู้วิจัยต้องการอะไร นอกจากนั้น ยังต้องดูกรอบแนวคิดการวิจัยเทียบด้วยว่า ผู้วิจัยศึกษาทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้รับสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สามารถตั้งคำถามให้ตรงตามแนวทางของกรอบแนวคิดการวิจัยที่ได้สร้างไว้ในการตอบวัตถุประสงค์

ยกตัวอย่าง เช่น วัตถุประสงค์การวิจัย ต้องการศึกษาส่วนประสมทางการตลาดใดบ้าง ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้หญิงวัยทำงาน จังหวัดกรุงเทพมหานคร สิ่งที่ผู้รับทำต้องดูคือ ผู้วิจัยใช้แนวคิดอะไรมาสร้างกรอบแนวคิด อาจเป็น แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด 4P เมื่อได้แนวทางการสร้างแบบสอบถามผู้รับทำต้องไปศึกษาแนวคิดทฤษฎีดังกล่าวเพิ่มว่า 4P ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง แล้วจะตั้งคำถามอย่างไรเพื่อให้ครอบคลุมแนวคิดทฤษฎีและตอบวัตถุประสงค์ด้วย

2. ตกลงเรื่องราคา

เมื่อผู้รับทำทราบวัตถุประสงค์การวิจัย และตรวจสอบกรอบแนวความคิดแล้ว จะสามารถประเมินราคาการสร้างแบบสอบถามได้

ซึ่งทางบริษัทฯ รับสร้างแบบสอบถามทั้งแบบออฟไลน์ และออนไลน์ โดยมีราคารับสร้างแบบสอบถาม เริ่มต้นอยู่ที่หน้าละ 1,199 บาท ซึ่งถือว่าเป็นราคาที่ถูก ผู้ว่าจ้างทุกท่านสามารถเข้าถึงราคาดังกล่าวได้

ปริญญาตรี

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,299 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,199 บาท/หน้า

ปริญญาโท

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,899 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,299 บาท/หน้า

ปริญญาเอก

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน2,999 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน2,899 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน2,799 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน2,699 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน2,599 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน2,499 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน2,399 บาท/หน้า

3. การกำหนดระยะเวลาวันส่งงาน

เมื่อตกลงราคาในการทำงานแล้ว สิ่งสำคัญที่ผู้ว่าจ้าง กับ ผู้รับทำต้องตกลงกัน คือ ระยะเวลาวันส่งงาน ซึ่งผู้รับทำต้องสามารถบอกระยะเวลาวันส่งงานได้ว่า ต้องส่งงานได้วันไหน เวลากี่โมง  เพื่อให้ผู้รับทำเตรียมตัวในกระบวนการต่อไปของงานวิจัย 

เช่น การสร้างแบบสอบถาม ราคาเริ่มต้นหน้าละ 1,199 บาท ทางบริษัทฯ ใช้ระยะเวลาในการทำงาน 7 วัน ในการทำงานทุกครั้ง ทางบริษัทฯ ยึดถือการส่งงานตรงเวลาเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกำหนดเวลาวันส่งงาน แล้วสามารถทำงานได้ตามกำหนด เป็นสิ่งที่ลูกค้ามักบอกต่อเพื่อนหลังการใช้บริการของบริษัทฯ เรา

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

งานวิจัย ANOVA ทำอย่างไร ที่นี่มีคำตอบ!

ANOVA, One Way ANOVA, หรือ F-test เป็นชื่อเรียกที่หลายๆ คนสับสน ว่ามันคือสถิติตัวเดียวกันหรือไม่ มีวิธีการทำอย่างไร แล้วต้องดูอย่างไรว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถใช้สถิติ ANOVA ในการวิเคราะห์ได้ 

ซึ่งบทความนี้จะมีคำตอบให้คุณ ด้วยคำอธิบายในฉบับที่เข้าใจง่ายค่ะ

1. คำอธิบายของ ANOVA ฉบับเข้าใจง่าย

ANOVA หรือ One Way ANOVA นั้นมีชื่อเรียกย่อๆ ว่า F-test 

ซึ่งในบทความนี้จะขอเรียกว่า ANOVA เพื่อให้เข้าใจตรงกันนะคะ จากข้อคำถามข้างต้นที่บทความได้กล่าวนำคุณมาถึงตรงนี้ คงตอบข้อสงสัยแล้วใช่ไหมคะว่า ANOVA, One Way ANOVA, หรือ F-test คือสถิติตัวเดียวกันนั่นเอง  ซึ่งทั้งสามชื่อที่กล่าวมานั้นจะเรียกแตกต่างกันไป แล้วแต่นักสถิติท่านใดจะถนัดเรียก สาเหตุที่มีชื่อย่อเรียกแบบนี้ก็เพราะว่าผลที่แสดงในตาราง ANOVA นั้นจะมีตัวย่อคือตัว F นั่นเอง

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ซึ่งหน้าที่ของ ANOVA นั้น มีไว้เพื่อทดสอบสมมติฐานทางสถิติของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน กับตัวแปรตาม ว่ามันมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ดังเช่น ตัวอย่างในรูปที่ 1 ด้านบน

ตัวอย่างในรูปที่ 1 ต้องการรู้ว่า สถานภาพ (ตัวแปรต้น) ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อ ปัจจัยทั้ง 6 ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำทางอำนาจ ความเป็นปัจเจกบุคคล มิติความแตกต่าง การหลีกเลี่ยงไม่แน่ การมุ่งเน้นเป้าหมาย การสนับสนุนองค์กร (ตัวแปรตาม) หรือไม่

โดยจุดมุ่งหมายของการทดสอบ ANOVA จริงๆ นั้นต้องการทดสอบเพื่อให้รู้ว่าค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่มาก
กว่า 2 กลุ่มนั้นแตกต่างกันคู่ไหนนั่นเอง ซึ่งก่อนอื่นต้องขออธิบายก่อนว่า ตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม คืออะไร 

ถ้าจะอธิบายให้เข้าใจง่ายๆ เลย ตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ก็คือ ตัวแปรในแบบสอบถามที่มากกว่า 2 ตัวเลือก นั่นเอง หากนึกไม่ออกให้ดูรูปภาพ ที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

คุณคงเข้าใจมากขึ้นแล้วใช่ไหมคะว่าตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม คืออะไร ต่อไป คงสงสัยกันแล้วใช่ไหมคะว่า ตัวแปรตามคืออะไร ตัวแปรตามก็คือ ตัวแปรที่เป็นผลที่ทำเกิดขึ้นภายหลังนั่นเอง 

ซึ่งตัวแปรนี้จะเป็นตัวที่ถูกทำนาย ตอบสนอง หรือเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ให้สังเกตจากกรอบแนวความคิดแล้วกันนะคะ เข้าใจง่ายดีค่ะ

2. วิธีการตรวจสอบว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถทดสอบ ANOVA ได้หรือไม่

จากการอธิบายข้างต้นคุณคงเข้าใจแล้วว่าตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่มคืออะไร ตัวแปรตามคืออะไร ดังนั้นวิธีการตรวจสอบว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถนำไปทดสอบ ANOVA ได้หรือไม่นั้น ให้คุณตรวจสอบก่อนว่าค่าความถี่ของการตอบนั้น มีการตอบมากกว่า 1 คน หรือไม่ เหตุที่ต้องให้ตรวจสอบเช่นนี้เพราะว่า ถ้ามีคนตอบเพียง 1 คน จะนำทดสอบ ANOVA ไม่ได้ 

3. คำสั่งที่ใช้ในการวิเคราะห์ ANOVA

เลือกคำสั่ง Analyze>Compare Means>One Way ANOVA หน้าต่างจะปรากฎหน้าตาแบบนี้

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ใส่ตัวแปรตามที่มากกว่า 2 ตัวแปรเข้าไปในช่อง Dependent List ใส่ตัวแปรต้นเข้าไปในช่อง Factor

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

กดปุ่ม Post Hoc เพี่อเลือกวิธีเปรียบเทียบรายคู่ จากนั้นเลือกวิธีเปรียบเทียบรายคู่ที่คุณใช้ ในที่นี้ เลือกวิธีของ Scheffe’s

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากนั้นเลือก Continue>OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการทำ ANOVA

4. วิธีอ่านค่า ANOVA ในโปรแกรม spss

เมื่อนำตัวแปรเข้าทดสอบ จะได้ตาราง ANOVA ขึ้นมา

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากรูปจะเห็นว่าค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 ทุกด้านซึ่งวิธีที่จะรู้ว่าค่าเฉลี่ยคู่ไหนแตกต่างกันนั้น ต้องทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) รวมถึงวิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง จะมีหน้าตาดังนี้

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากรูปจะเห็นได้ว่าตัวแปรต้นที่ส่งผลต่อตัวแปรตามได้ ก็ตือตัวแปรที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ในช่องของ Mean Difference นั่นเอง

จากบทความคุณคงเข้าใจวิธีการทำงานวิจัยด้วยสถิติ ANOVA มากขึ้น ดังนั้นการเริ่มใช้สถิติ ANOVA เบื้องต้นคุณคงพิจารณาข้อกำหนดดังกล่าวได้บ้าง แต่อย่างไรก็ตามการใช้สถิติต้องดูความเหมาะสมและดูวัตถุประสงค์อีกที เพื่อให้คุณสามารถเลือกสถิติได้ตอบวัตถุประสงค์มากขึ้น

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

ขั้นตอนวิเคราะห์ SPSS แบบสอบถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ในการวิเคราะห์พฤติกรรมจะมีคำตอบที่มากกว่า 1 ข้อ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ผู้วิจัยจะปิดกั้นการตอบของผู้ตอบแบบสอบถามเพียงข้อเดียว  ดังนั้นเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์ การสร้างแบบสอบถามจึงควรที่จะต้องสร้างตัวเลือกในการตอบคำถามเพื่อมารองรับคำตอบที่ตอบมากกว่า 1 ข้อด้วย ซึ่งตัวอย่างของข้อคำถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อจะมีลักษณะนี้

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

เมื่อทราบลักษณะของแบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อแล้ว ในบทความนี้จะบอกถึงขั้นตอนสำหรับการวิเคราะห์แบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อ ดังนี้

1. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze  >>   Multiple Response >>  Define Sets…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

2. นำชุดของตัวแปรไปที่ Variable  in  Set :

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

3. ที่  Variable are  Coded  As  เลือกคำสั่งดังนี้

▪ Dichotomies สำหรับค่าของตัวแปรเป็นไปได้ 2 ค่า และ Counted Value : คือการกำหนดค่าที่ต้องการนับ

▪ Categories สำหรับตัวแปรแยกประเภท และที่ Range ระบุค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด

4. Name และ Label เป็นการตั้งชื่อและรายละเอียดของกลุ่มตัวแปรใหม่

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

5. คลิก Add

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

6. คลิก  Close

7. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze >>  Multiple  Response  >>  Frequencies…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

8. นำตัวแปร Multiple Response  Set  ไว้ที่  Table(s) for:

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

9. ที่ Missing Values สามารถกำหนดไม่ต้องนำค่าสูญหามาคำนวณได้

▪ Exclude  cases list wise within dichotomies สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด dichotomy

▪ Exclude case  list wise  within  categories สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด categories

10. คลิกปุ่ม OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้น

ถึงแม้ว่าแบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ จะทำให้ผู้วิจัยทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามละเอียดขึ้น แต่ข้อคำถามประเภทนี้ก็มีข้อจำกัด ที่ยังเป็นจุดบอดอยู่คือไม่สามารถนำข้อคำถามดังกล่าวมาทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA, Correration หรือ Regression ได้ จึงทำให้ผู้วิจัยไม่สามารถทราบได้เลยว่าพฤติกรรมใดส่งผลต่อตัวแปรตาม นอกเสียจากแปลงให้เป็นข้อคำถามที่ตอบได้ข้อเดียวถึงจะตอบสมมติฐานได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)


สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย