คลังเก็บป้ายกำกับ: การสร้างแบบสอบถาม

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

เหตุผลอะไร ที่คนส่วนใหญ่จึงไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความเข้าใจในสถิติพื้นฐาน โดยผู้ที่ใช้โปรแกรม SPSS เป็น ต้องรู้จักและเข้าใจการวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย 

ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด เพราะว่าค่าสถิติพื้นฐานจะเป็นการวิเคราะห์เริ่มต้น ที่นำไปสู่การทดสอบสมมติฐาน ตามที่วัตถุประสงค์การวิจัยได้ตั้งไว้

แต่สถิติ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะเข้าใจ ซึ่งแน่นอนที่คุณจะต้องเจอกับตัวเลข เป็นจำนวนมาก หากบางคนไม่มีพื้นฐานทางด้านสถิติ จะทำให้เกิดการเบื่อหน่าย ปวดหัว และมึนงง เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถดูแล้วเข้าใจได้โดยทันที  ดังที่มาร์ยัม เมอร์ซาคานี กล่าวไว้ว่า คณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องสำหรับทุกคน

ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่คนส่วนใหญ่ไม่อยากจะเสียเวลาเข้าใจโปรแกรม SPSS  บทความนี้จึงจะนำพาคุณมาวิเคราะห์ถึง 3 เหตุผลที่คนส่วนใหญ่ไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง เพื่อประมวลผลการวิจัยเองดังนี้

1. ไม่อยากทำความเข้าใจเกี่ยวเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS สำหรับงานวิจัย สามารถแยกย่อยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 

ประเภทที่ 1 สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้กับข้อมูลง่ายๆ มีวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น

ประเภทที่ 2 สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยต้องใช้พื้นฐานของสถิติเชิงพรรณามาช่วยในการค้นหาคำตอบข้อเท็จจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Regression)

แค่ทั้ง 2 ประเภทใหญ่ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็ยากต่อการเข้าใจแล้ว แต่ที่ยากไปกว่านั้นคือการเลือกใช้สถิติแต่ละตัว ซึ่งผู้วิจัยต้องดูประเภทข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวด้วยว่า ตัวแปรไหนสามารถนำมาทดสอบสมมติฐานได้บ้าง ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. เลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์ไม่ตรงกับประเภทข้อมูล

คงเป็นเรื่องยาก ที่คุณต้องมานั่งศึกษาใหม่ว่าข้อมูลประเภทไหน สามารถนำไปทดสอบประเภทไหนได้บ้าง ถ้าเปรียบก็คงเหมือนการไปเริ่มเรียน ก-ฮ ใหม่ เพราะว่านอกจากภาระหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบแล้ว เรื่องที่ทำให้ปวดหัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวิเคราะห์สถิติ 

เพราะ การวิเคราะห์สถิติ นั้นในข้อมูลแต่ละประเภทจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างกันออกไป หากเลือกประเภทข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สถิติผิด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผล หรือแสดงผล Error ออกมา ทำให้ผู้วิจัยไม่รู้จะสอบถามใคร ไปต่อไม่ได้

หากผู้วิจัยคนไหนต้องการจะวิเคราะห์ SPSS แปลผลข้อมูลเอง อันดับแรกควรจะทำการศึกษาประเภทของข้อมูลก่อนว่า ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นอย่างไร และข้อมูลประเภทไหนใช้กับสถิติอะไรได้บ้าง 

3. ไม่เข้าใจการทดสอบสมมติฐาน

จากการที่ไม่เข้าใจการเลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์กับประเภทข้อมูลแต่ละประเภท ทำให้ผลโปรแกรมวิเคราะห์ SPSS ออกมา  Error คนส่วนใหญ่จึงไม่รู้จะทำอะไรต่อ และไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ส่งผลให้ทดสอบสมมติฐานไม่ได้ด้วยเช่นกัน 

ยกตัวอย่าง สถานการณ์ที่เจอปัญหา ดังเช่น ข้อคำตอบไหนที่มีกลุ่มตัวอย่างตอบเพียงคนเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA จะออกมา Error ดูจากรูปจะพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 50 ปีขั้นไป เพียงแค่ 1 ท่าน ที่มีการตัดสินใจเล่นกีฬา เมื่อนำมาวิเคราะห์ One Way ANOVA ผลตารางของ Post hoc จะไม่ออก 

ดังนั้นถ้าผลออกมาว่าอายุเป็นตัวแปรที่ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเล่นกีฬา จะไม่สามารถตอบได้ว่ากลุ่มอายุไหนบ้างที่ตัดสินใจเล่นกีฬา แล้วกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุไหนเล่นกีฬาอะไรบ้าง 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

จาก 3 เหตุผลดังกล่าวก็ทำให้หลายท่านตอบคำถามตัวเองได้แล้วว่า เราควรเสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง หรือไม่ หากเจอปัญหา ผลโปรแกรม Error จะแก้ไขปัญหาเองได้หรือไม่ เมื่อได้คำตอบนั้นแล้วลองปรึกษาบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสถิติ เพื่อขอคำแนะนำและทำให้การทำงานวิจัยของคุณให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย ไม่ยากอย่างที่คิด!

แบบสอบถามงานวิจัย เป็นเครื่องมือการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยชุดคำถาม ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชื่อ และความสนใจต่างๆ ที่เตรียมไว้สำหรับให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกตอบหรือเติมคำ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย 

ซึ่งการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยนั้น ข้อคำถามจะถูกสร้างขึ้นจากกรอบแนวความคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือต้องการวัด ซึ่งข้อคำถามที่ใช้ถาม ต้องมีเหมาะสมกับประเด็นที่จะวัด โดยจะมีหลักการในการสร้างเพื่อตามขั้นตอนดังนี้

1. พิจารณาหัวข้อปัญหาและวัตถุประสงค์

ในปัจจุบันพบว่า มีหลายงานวิจัยที่ไม่สามารถเลือกใช้แบบสอบถามได้อย่างเหมาะสมกับงานวิจัยของตนเองได้ เนื่องจากตั้งคำถามไม่ตรงกับลักษณะ หรือพฤติกรรม ของผู้ตอบแบบสอบถามจึงทำให้ ผลการวิจัยที่ออกมาไม่ตอบกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ ดังนั้นการทราบปัญหาการวิจัย และการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ถือเป็นเข็มทิศในการเดินทาง ที่จะทำให้ทราบจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยเลยทีเดียว 

ก่อนอื่นคุณต้องทราบปัญหาของงานวิจัยก่อน ว่างานวิจัยที่ทำอยู่นั้นมีปัญหาอะไร? 

ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งพนักงานไม่มีแรงจูงใจในการทำงาน พนักงานจึงมีการขาด ลา และมาสาย อยู่เป็นประจำ ทำให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากปัญหาดังกล่าวอาจเป็นเพราะปัจจัยต่างๆ เช่น พนักงานรู้สึกว่าตนเองได้รับค่าจ้างที่ไม่คุ้มค่ากับงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนร่วมงานไม่ดี หรือไม่มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งนี้ 

จึงตั้งวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาสาเหตุการขาด ลา และมาสายของพนักงาน และศึกษาปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทดังกล่าว 

ดังนั้นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเพื่อที่จะสร้างแบบสอบถามงานวิจัย โดยจะต้องศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Clayton Alderfer ที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีความต้องการ Maslow มาปรับใช้ได้ ซึ่งจะกล่าวถึงวิธีพิจารณารูปแบบการตั้งคำถามในขั้นตอนต่อไป

2. พิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้

ในการพิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้ คุณสามารถหยิบยกข้อคำถามจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ได้ เช่น ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Alderfer สรุปว่า ความต้องการของมนุษย์สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่

E ตัวแรกคือ ความต้องการเพื่อการดำรงชีวิต (Existence needs = E) เป็นความต้องการจาก ค่าจ้างเงินโบนัส และผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ดี ดังนั้นข้อคำถามที่ควรตั้ง อาจจะเป็นการสอบถาม ความพอใจที่ได้รับค่าจ้างหรือโบนัสสิ้นปี หรือสภาพการทำงานที่ได้รับว่าเหมาะกับค่าจ้างหรือไม่ เป็นต้น

R ตัวที่สองคือ ความต้องการทางด้านความสัมพันธ์ (Relatedness needs = R) เป็นความต้องการทางสังคมที่ต้องการการยอมรับจากหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ซึ่งข้อคำถามที่ควรตั้งเช่น ท่านสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมได้เป็นอย่างดีหรือไม่ หรือท่านได้รับการยกย่องจากหัวหน้าเมื่อทำงานได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นต้น

G ตัวที่สามคือความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs = G) เป็นความต้องการเติบโตจากหน้าที่การงาน ข้อคำถามที่ควรตั้ง เช่น ท่านได้รับพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งอยู่เสมอ เป็นต้น

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถนำทฤษฎีมาปรับใช้เป็นแนวทางในการตั้งข้อคำถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขปัญหาวิจัยได้ ซึ่งข้อคำถามที่ตั้งนั้น ควรสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงระดับความคิดเห็น หรือเรียกว่าข้อคำถามแบบมาตรวัด scale ซึ่ง

5 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมากที่สุด 
4 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมาก
3 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นปานกลาง
2 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อย
1 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อยที่สุด 

3. ร่างแบบสอบถาม

เมื่อได้ข้อคำถามที่สอบถามแล้ว ผู้วิจัยต้องทำการรวบรวมคำถามโดยแบ่ง เป็นด้านตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ศึกษา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยอาจจะร่างข้อคำถามในกระดาษ หรือสร้างข้อคำถามในโปรแกรม Word เลยก็ได้เช่นกัน

4. ตรวจสอบแบบสอบถาม

เมื่อร่างข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยควรตรวจทานข้อคำถามก่อนว่าอ่านรู้เรื่องหรือไม่ มีคำผิดหรือไม่ แล้วข้อคำถามสอดคล้องกับสถานการณ์จริงหรือไม่ หากตรวจทานดูแล้วควรส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความคล้องอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงข้อคำถามต่อไป 

ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า วิธีการทำ IOC ในการทดสอบนี้หากคะแนนของผู้เชี่ยวชาญที่ให้คะแนนแต่ละข้อคำถามรวมกัน หารจำนวนผู้เชี่ยวชาญ แล้วได้ค่าคะแนนแต่ละข้อมากกว่า 0.5 จึงถือว่าผ่าน สามารถนำไปทดสอบแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาได้

5. ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try-out)

เมื่อตรวจสอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว การทำการทดลองแบบสอบถามถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัย จะต้องทำอีกกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงความชัดเจนในทุกๆ ด้านของข้อคำถาม หากข้อคำถามมีความชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อ่านจะเข้าใจตรงกัน เนื่องจากแบบสอบถามมีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รัดกุม ไม่มีความบกพร่องทางภาษา ทำให้การตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน 

ซึ่งวิธีการดังกล่าวเรียกว่า วิธีการ Try-out เป็นการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาประมาณ 30 คน ในการทดสอบครั้งนี้ 

หากคำตอบของกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีการแปลความหมายมาแล้วว่ามีความสอดคล้องกัน จะต้องมีค่าคะแนนของค่า Reliability มากกว่า 0.7 ขึ้นไป จะทำให้การ Try-out ในครั้งนี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะสามารถนำแบบสอบถามนี้ไปสร้างเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ได้ 

หากค่าคะแนนของค่า Reliability น้อยกว่า 0.7 อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจนหรือยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ ควรต้องมีการแก้ไขแล้วปรับปรุงในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องต่อไป

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม

เมื่อทราบค่าคะแนนของค่า Reliability ว่าน้อยกว่า 0.7 ผู้วิจัยควรดูข้อเสนอแนะที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอไว้ และนำมาปรับปรุง ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ค่า Reliability น้อยกว่าเกณฑ์อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจน ยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามก็เป็นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรแก้ไข ปรับปรุงข้อคำถามใหม่ และนำไป Try-out อีกครั้ง 

7. สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

เมื่อแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยสามารถสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และนำไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างได้ทันที

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัยข้อคำถามจะดีหรือไม่ดีนั้น ขึ้นอยู่ว่าคุณตั้งคำถามได้ตรงจุดหรือไม่ หากคุณตั้งคำถามที่ยากเกินไป หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบ จะทำให้ผู้ตอบไม่อยากตอบ เพราะไม่เข้าใจ ในขณะเดียวกันหากข้อคำถามมีปริมาณข้อคำถามที่เยอะเกินไป จนทำให้สร้างความกังวลใจกับผู้ตอบ จะส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบ ซึ่งเป็นผลเสียกับคุณเอง ทำให้ไม่ได้คำตอบที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_เทคนิคการทำงานวิจัย_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส

3 Key Success ในการทำธีสิส (Thesis)

ในการทำ Thesis (ธีสิส)  แต่ละครั้งนั้น ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นกับนักวิจัยมือใหม่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้

เรียนรู้ 3 key success ที่จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสามารถลดระยะเวลาในการทำงานวิจัย และลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อีกด้วย

1. ต้องมีการอ้างอิงทุกครั้ง

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ในการเขียนงานวิจัยนั้นจำเป็นจะต้องมีการอ้างอิงทุกย่อหน้า หรือมีการอ้างอิงท้ายย่อหน้าแทรกอยู่ภายในเนื้อหาของงานวิจัย และแหล่งอ้างอิงที่นำมาใช้นั้นจะต้องเป็นแหล่งอ้างอิงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวิจัย เพื่อพัฒนาต่อยอดความรู้ให้สูงขึ้นได้

โดยเฉพาะการทำ Thesis แต่ละครั้งจำเป็นที่จะต้องใช้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากต่างประเทศมาเป็นแหล่งข้อมูลสนับสนุนงานวิจัยดังกล่าว เพื่อสะท้อนว่าเนื้อหาของงานวิจัยนั้นผ่านการกลั่นกรอง บูรณาการข้อมูลมาแล้ว ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ที่อ่านงานวิจัยของท่านและการพัฒนาตัวท่านเองอีกด้วย

2. ตัวแปรที่ใช้อ้างอิงควรมีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

หลายท่านที่นำข้อมูลในการทำ Thesis มาจากแหล่งข้อมูลที่เป็นเว็บไซต์ทั่วไปซึ่งเป็นข้อมูลที่ทันสมัย แต่มีความเป็นวิชาการน้อย

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เนื่องจากปัจจุบันสามารถใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ Block หรือ Youtube มาอ้างอิงในการทำงานวิจัย หรือการทำ Thesis  ได้ก็จริง แต่แหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านี้จะมีปัญหาตรงเนื้อหาข้อมูลไม่มีน้ำหนักมากพอในการนำมาใช้อ้างอิงในงาน Thesis หรืองานวิจัยต่างๆ ได้ส่งผลให้ไม่สามารถเชื่อถือข้อมูลงาน Thesis ได้ดังกล่าวได้ 100% 

ฉะนั้นแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหน่วยงานที่เป็นองค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานระดับภาคเอกชนที่มีความน่าเชื่อถือในระดับสากลและเป็นที่ยอมรับของสังคม อีกทั้งแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจำเป็นที่จะต้องมีความชัดเจน หรือผู้มีตำแหน่งที่เกี่ยวข้องทางวิชาการให้การยอมรับ 

3. กลุ่มตัวอย่างต้องให้ความร่วมมือ

กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มที่ให้ข้อมูลสำคัญในการทำ Thesis แต่ละเล่มนั้น จำเป็นที่จะต้องเต็มใจให้ความร่วมมือ ในการตอบแบบสอบถาม หรือตอบแบบสัมภาษณ์ 

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งจะต้องให้ความสำคัญและคำนึงถึงกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลว่า กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นใครนั้น จะทำให้ได้รับความร่วมมือในการเก็บข้อมูลพร้อมกับได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงประเด็น และน่าเชื่อถือ

ดังนั้น 3 Key success ของการทำ Thesis นั้นจำเป็นต้องคำนึงถึง การใช้แหล่งอ้างอิงว่าควรจะใช้ในรูปแบบไหน ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดคือการใช้อ้างอิงทุกย่อหน้า และมีมากกว่า 1 แหล่งอ้างอิงขึ้นไป โดยจะต้องมีแหล่งอ้างอิงที่มาจากต่างประเทศด้วย รวมถึงการได้ข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย และได้รับความร่วมมือจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญนั้นเป็นอย่างดี จึงจะทำให้การทำ Thesis นั้นมีคุณภาพ และถูกต้องตามหลักทางวิชาการ

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

เทคนิคการสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที

ในบทความนี้จะเป็นเทคนิค 3 ข้อ การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที ทั้งยังสามารถเป็นแนวทางเพื่อพัฒนาการสร้างแบบสอบถามของงานวิจัยสำหรับผู้วิจัยมือใหม่ได้อีกด้วย

1. กำหนดแต่ละส่วนตามตัวแปรที่ใช้ในกรอบแนวคิดการวิจัย

ในงานวิจัยที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนใหญ่แล้วจะต้องมีกรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เพื่อให้สามารถกำหนดตัวแปรย่อยหรือองค์ประกอบย่อยของแต่ละส่วนงานได้ต่อไป

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นในการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย โดยเริ่มจากการกำหนดตัวแปรต้น และสร้างข้อคำถามที่เกี่ยวข้องไล่มาตามลำดับของตัวแปรต้น 

เช่น สมมติว่ามีปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดเป็นตัวแปรต้น ก็จะกำหนดข้อคำถามโดยเริ่มตั้งแต่ปัจจัยส่วนบุคคลไล่ลงมาที่ทัศนคติและปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดตามลำดับ แล้วค่อยกำหนดตัวแปรตามในลำดับถัดมา

2. สังเคราะห์จากนิยามศัพท์

เมื่อสามารถสร้างข้อคำถามในแต่ละส่วนตามกรอบแนวคิดการวิจัยได้แล้ว ควรมีการนำเนื้อหามาเขียนเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ขึ้นมา เนื่องจากว่านิยามศัพท์จะต้องสะท้อนถึงข้อคำถามที่นำมาสังเคราะห์จากตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยได้ด้วย

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น หากท่านสามารถสร้างข้อคำถามที่สอดคล้องกับนิยามศัพท์ได้ โดยตั้งเป็นข้อคำถามในแบบสอบถามงานวิจัยก่อน แล้วจึงนำเนื้อหาจากข้อคำถามของแบบสอบถามนั้นมาเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ จะทำให้ทั้งสองส่วนนั้นมีความสอดคล้องกันและไม่จำเป็นต้องมาแก้ไขในภายหลัง

3. มีข้อคำถามปลายเปิด

แบบสอบถามที่ดีที่สุดจำเป็นจะต้องมีการเปิดให้เสนอความคิดเห็นที่เกี่ยวกับหัวข้อที่ทำการศึกษาวิจัย เช่น ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบริการหรือผลิตภัณฑ์นั้น จำเป็นจะต้องมีการเปิดให้กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องานวิจัยดังกล่าวได้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เพื่อที่จะนำข้อคิดเห็นที่สำคัญจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวนั้นมาเขียนเป็นข้อเสนอแนะ หรือนำมาสรุปเป็นผลการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการนำเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในครั้งถัดไปได้

ดังนั้นการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงจำเป็นจะต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย ไล่เรียงตามลำดับตัวแปร และมีองค์ประกอบย่อยที่แสดงผลอย่างชัดเจน 

หากท่านสามารถสร้างแบบสอบถามจากกรอบแนวคิดการวิจัยได้ ก็จะทำให้ท่านได้รับความสะดวกในการเขียนเนื้อหางานวิจัยในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสามารถที่จะออกแบบแบบสอบถามโดยสำเร็จได้ในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทำงานวิจัยในส่วนอื่นๆ ต่อไป

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
แบบสอบถาม_สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_รับทำแบบสอบถาม

รับจ้างทําแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลงานวิจัย

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญ ในการได้มาซึ่งผลการวิจัย หากข้อคำถามในแบบสอบถามสามารถตั้งคำถามได้ดี ก็จะทำให้คุณสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมหาศาล

ดังนั้นการตั้งคำถามจึงมีความสำคัญมาก หากตั้งคำถามที่ตรงกับลักษณะพฤติกรรม หรือทัศนคติของผู้ตอบ ก็จะทำให้ได้แนวทางในการพัฒนาผลงานวิจัย และนำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ดี

โดยเฉพาะแบบสอบถามทางด้านการตลาด เช่น การสอบความเหมาะสมของราคาผลิตัณฑ์ ซึ่งอาจตั้งคำถามว่า

“ท่านคิดว่าราคาที่ท่านจ่าย กับคุณภาพที่ได้รับของสินค้านั้น มีความเหมาะสมหรือไม่” 

เมื่อได้คำตอบ ผู้ประกอบการสามารถนำแนวทางการตอบ ไปเเป็นแนวทางการตั้งราคาที่เหมาะสม ที่ผู้บริโภคยอมจ่ายสินค้านั้นง่ายขึ้นได้  

ในการรับทำแบบสอบถามทางบริษัทฯ ต้องทราบวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้างก่อนว่าต้องการสร้างแบบสอบถามขึ้นมาเพื่อใช้ในงานใด และกลุ่มตัวอย่างที่จะตอบเป็นกลุ่มใด เพื่อการตั้งคำถามที่นำมาซึ่งคำตอบตามวัตถุประสงค์ 

ดังนั้นบทความนี้คุณจะทราบถึงขั้นตอนการรับจ้างทำแบบสอบถาม ของบริษัทฯ ตามขั้นตอนนี้

1. ผู้รับทำแบบสอบถาม ต้องทราบวัตถุประสงค์ของการวิจัยก่อน

เหตุที่ต้องทราบวัตถุประสงค์ในวิจัยก่อน เพราะวัตถุประสงค์การวิจัย ทำให้รู้ว่าผู้วิจัยต้องการอะไร นอกจากนั้น ยังต้องดูกรอบแนวคิดการวิจัยเทียบด้วยว่า ผู้วิจัยศึกษาทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้รับสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สามารถตั้งคำถามให้ตรงตามแนวทางของกรอบแนวคิดการวิจัยที่ได้สร้างไว้ในการตอบวัตถุประสงค์

ยกตัวอย่าง เช่น วัตถุประสงค์การวิจัย ต้องการศึกษาส่วนประสมทางการตลาดใดบ้าง ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้หญิงวัยทำงาน จังหวัดกรุงเทพมหานคร สิ่งที่ผู้รับทำต้องดูคือ ผู้วิจัยใช้แนวคิดอะไรมาสร้างกรอบแนวคิด อาจเป็น แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด 4P เมื่อได้แนวทางการสร้างแบบสอบถามผู้รับทำต้องไปศึกษาแนวคิดทฤษฎีดังกล่าวเพิ่มว่า 4P ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง แล้วจะตั้งคำถามอย่างไรเพื่อให้ครอบคลุมแนวคิดทฤษฎีและตอบวัตถุประสงค์ด้วย

2. ตกลงเรื่องราคา

เมื่อผู้รับทำทราบวัตถุประสงค์การวิจัย และตรวจสอบกรอบแนวความคิดแล้ว จะสามารถประเมินราคาการสร้างแบบสอบถามได้

ซึ่งทางบริษัทฯ รับสร้างแบบสอบถามทั้งแบบออฟไลน์ และออนไลน์ โดยมีราคารับสร้างแบบสอบถาม เริ่มต้นอยู่ที่หน้าละ 1,199 บาท ซึ่งถือว่าเป็นราคาที่ถูก ผู้ว่าจ้างทุกท่านสามารถเข้าถึงราคาดังกล่าวได้

ปริญญาตรี

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,299 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,199 บาท/หน้า

ปริญญาโท

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,899 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,299 บาท/หน้า

ปริญญาเอก

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน2,999 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน2,899 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน2,799 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน2,699 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน2,599 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน2,499 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน2,399 บาท/หน้า

3. การกำหนดระยะเวลาวันส่งงาน

เมื่อตกลงราคาในการทำงานแล้ว สิ่งสำคัญที่ผู้ว่าจ้าง กับ ผู้รับทำต้องตกลงกัน คือ ระยะเวลาวันส่งงาน ซึ่งผู้รับทำต้องสามารถบอกระยะเวลาวันส่งงานได้ว่า ต้องส่งงานได้วันไหน เวลากี่โมง  เพื่อให้ผู้รับทำเตรียมตัวในกระบวนการต่อไปของงานวิจัย 

เช่น การสร้างแบบสอบถาม ราคาเริ่มต้นหน้าละ 1,199 บาท ทางบริษัทฯ ใช้ระยะเวลาในการทำงาน 7 วัน ในการทำงานทุกครั้ง ทางบริษัทฯ ยึดถือการส่งงานตรงเวลาเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกำหนดเวลาวันส่งงาน แล้วสามารถทำงานได้ตามกำหนด เป็นสิ่งที่ลูกค้ามักบอกต่อเพื่อนหลังการใช้บริการของบริษัทฯ เรา

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

ขั้นตอนวิเคราะห์ SPSS แบบสอบถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ในการวิเคราะห์พฤติกรรมจะมีคำตอบที่มากกว่า 1 ข้อ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ผู้วิจัยจะปิดกั้นการตอบของผู้ตอบแบบสอบถามเพียงข้อเดียว  ดังนั้นเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์ การสร้างแบบสอบถามจึงควรที่จะต้องสร้างตัวเลือกในการตอบคำถามเพื่อมารองรับคำตอบที่ตอบมากกว่า 1 ข้อด้วย ซึ่งตัวอย่างของข้อคำถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อจะมีลักษณะนี้

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

เมื่อทราบลักษณะของแบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อแล้ว ในบทความนี้จะบอกถึงขั้นตอนสำหรับการวิเคราะห์แบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อ ดังนี้

1. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze  >>   Multiple Response >>  Define Sets…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

2. นำชุดของตัวแปรไปที่ Variable  in  Set :

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

3. ที่  Variable are  Coded  As  เลือกคำสั่งดังนี้

▪ Dichotomies สำหรับค่าของตัวแปรเป็นไปได้ 2 ค่า และ Counted Value : คือการกำหนดค่าที่ต้องการนับ

▪ Categories สำหรับตัวแปรแยกประเภท และที่ Range ระบุค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด

4. Name และ Label เป็นการตั้งชื่อและรายละเอียดของกลุ่มตัวแปรใหม่

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

5. คลิก Add

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

6. คลิก  Close

7. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze >>  Multiple  Response  >>  Frequencies…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

8. นำตัวแปร Multiple Response  Set  ไว้ที่  Table(s) for:

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

9. ที่ Missing Values สามารถกำหนดไม่ต้องนำค่าสูญหามาคำนวณได้

▪ Exclude  cases list wise within dichotomies สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด dichotomy

▪ Exclude case  list wise  within  categories สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด categories

10. คลิกปุ่ม OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้น

ถึงแม้ว่าแบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ จะทำให้ผู้วิจัยทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามละเอียดขึ้น แต่ข้อคำถามประเภทนี้ก็มีข้อจำกัด ที่ยังเป็นจุดบอดอยู่คือไม่สามารถนำข้อคำถามดังกล่าวมาทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA, Correration หรือ Regression ได้ จึงทำให้ผู้วิจัยไม่สามารถทราบได้เลยว่าพฤติกรรมใดส่งผลต่อตัวแปรตาม นอกเสียจากแปลงให้เป็นข้อคำถามที่ตอบได้ข้อเดียวถึงจะตอบสมมติฐานได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)


สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย