คลังเก็บป้ายกำกับ: การวิเคราะห์ข้อมูล

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan

วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด ที่นี่มีคำตอบ!

จากบทความที่แล้วท่านคงจะเข้าใจว่า ประชากร คืออะไร กลุ่มตัวอย่าง คืออะไร กันแล้วใช่ไหมคะ ในบทความนี้จะมาอธิบายวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียดให้ท่านเข้าใจกันค่ะ

การคำนวณสูตรกลุ่มตัวอย่างนั้น ส่วนใหญ่นิยมใช้ 2 วิธี คือ การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan และ การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane บทความนี้จะมาอธิบายวิธีการคำนวณ 2 วิธี นี้ให้ฟังอย่างละเอียดดังนี้

วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan

การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan ครั้งนี้ ดิฉันจะออกโจทย์  3 ข้อ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย ๆ ดังนี้

โจทย์
1. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 146 คน
2. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 4,256 คน
3. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 5,000 คน

จากโจทย์ทั้ง 3 ข้อ เมื่อเปิดตารางของ Krejcie & Morgan จะได้คำตอบดังนี้

การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

คำตอบ
1. ประชากร 146 คน จะได้กลุ่มตัวอย่าง 103 คน
2. ประชากร 4,256 คน จะได้กลุ่มตัวอย่าง 351 คน
3. ประชากร 5,000 คน จะได้กลุ่มตัวอย่าง 357 คน

วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane 

การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง ของ Taro Yamane  ครั้งนี้ ดิฉันจะออกโจทย์  3 ข้อเช่นกัน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย ๆ ดังนี้

โจทย์
1. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 1,245,653 คน
2. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 2,356 คน
3. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 8,235 คน

จากโจทย์ทั้ง 3 ข้อ เมื่อคำนวณกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ Taro Yamane จะได้คำตอบดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

คำตอบ
1. ประชากร 1,245,653 คน สามารถคำนวณตามสูตรได้ดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

2. ประชากร 2,356 คน สามารถคำนวณตามสูตรได้ดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

3. ประชากร 8,235 คน สามารถคำนวณตามสูตรได้ดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

จากวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan และวิธีการคำนวณตามสูตรของ Taro Yamane คงจะพอคลายข้อสงสัยของผู้วิจัยหลายๆ ท่านได้ ดังนั้นท่านสามารถนำวิธีดังกล่าวไปใช้กับงานวิจัยของท่านได้ ตามวิธีที่ท่านถนัด

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

“ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” ต่างกันอย่างไร

ผู้วิจัยหลายท่านกำลังสงสัยว่า “ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” นั้นต่างกันอย่างไร

ในการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์นั้น ผู้วิจัยจะต้องมีกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลจะนำพามาซึ่งคำตอบของเรื่องที่ผู้วิจัยกำลังศึกษาอยู่

ดังนั้น ในบทความนี้ เราจะมาอธิบายความต่างระหว่าง  “ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” ให้ฟังในแบบที่เข้าใจง่ายๆ

ประชากร

สำหรับประชากรในงานวิจัยจะหมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตทั้งหมดของเรื่องที่ศึกษา  อาจเป็นสัตว์ หรือคน ก็ได้ เช่น 

– ประชากรเสือในสวนสัตว์เขาเขียว
– ประชากรนักเรียนโรงเรียนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
– ประชากรที่เข้าใช้บริการห้างเซ็นทรัล เขตบางนา กรุงเทพมหานคร
– ประชากรพนักงานในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

ซึ่งในงานวิจัยสามารถแยก ประชากร ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ

1. ประชากรที่มีจำนวนจำกัด ประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนที่แน่นอน เช่น 

– นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย หรือ 
– นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต 

ซึ่งประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนที่แน่นอนซึ่งผู้วิจัยสามารถสอบถามสถานที่ ที่จะศึกษาได้เลย หรืออาจมีข้อมูลเผยแพร่ในข้อมูลเว็บไซต์ของโรงเรียนหรือมหาลัยนั้นอยู่แล้ว

2. ประชากรที่ไม่จำกัดจำนวน ประชากรกลุ่มนี้เราจะไม่สามารถทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนได้เลยเนื่องจากมีตัวเลขประชากรที่ไม่คงที่ เช่น 

– ประชากรที่เข้าใช้บริการห้างเซ็นทรัล เขตบางนา กรุงเทพมหานคร (ห้างจะมีผู้ใช้บริการเข้าออกตลอดเวลาจนกว่าห้างจะปิด)
– ประชากรพนักงานในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน) (พนักงานบริษัทจะมีการย้ายเข้า-ย้ายออกทุกเดือน)

เมื่ออ่านบทความมาถึงจุดตรงนี้แล้ว ผู้วิจัยคงจะทราบแล้วว่าประชากรของท่านคือ กลุ่มใดต่อไปเรามาศึกษากลุ่มตัวอย่างกันค่ะ

กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ กลุ่มประชากรกลุ่มหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจจะศึกษา กลุ่มนั้นจริงๆ 

ยกตัวอย่างเช่น หากกลุ่มประชากรของท่านคือ ผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยรังสิต ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างของท่าน อาจจะศึกษา กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าที่สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับการศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้จึงไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่ชัด (ซึ่งจะอยู่ในประเภทประชากรไม่จำกัดจำนวน) 

หรือ หากกลุ่มประชากรของท่านคือ ประชากรนักเรียนโรงเรียนอนุบาลนครสวรรค์ จำนวน 550 คน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2562 ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan แล้วจึงได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 226 คน ในการนำไปวิเคราะห์ผล

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า กลุ่มประชากรคือ กลุ่มสมาชิกทั้งหมดที่จะศึกษา เมื่อท่านทราบกลุ่มประชากรที่จะศึกษาแล้ว จึงจะสามารถนำกลุ่มประชากรกลุ่มนั้นมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบของการศึกษาทั้งหมดได้ ซึ่งกลุ่มประชากรกลุ่มนั้นเรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง หากสงสัยวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างโปรดติดตามบทความต่อไป >>> วิธีการกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด ที่นี่มีคำตอบ!

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

วิธีติดตั้งโปรแกรม LISREL อย่างละเอียด

โปรแกรม LISREL เป็นโปรแกรมหนึ่งที่นิยมใช้ในดุษฎีนิพนธ์ เพื่อนำมาไว้ใช้สร้างแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) ในการหาเส้นทางของคำตอบที่ดีที่สุด หรือสถิติอื่นๆ ดังนั้นหากนักศึกษาปริญญาเอก ที่ต้องการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ศึกษาสามารถทำตามขั้นตอนที่ทีมงานสถิติแนะนำได้เลยค่ะ

1. เข้าไปในเว็บ http://www.ssicentral.com/ 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

2. ไปที่แถบเมนู PRODUCTS แล้วเลือก  LISREL

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

3. คลิก Downloads ที่แถบเมนู LISREL MENU

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

4. มีฟรีลายเส้นให้เลือก 2 แบบ

– แบบ Fulloption จะใช้ฟรีได้เพียง 15 วัน สามารถคลิกไปที่  LISRELTrialLicense.xls ตัวอักษรสีฟ้า ดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

หลังจาก 15 วัน หากโหลด แบบ Fulloption ต้องเสียเงินในการซื้อลายเส้น 625$ (ประมาณ 20,xxx บาท) หากต้องการเช่า หรืออัปเดตเวอร์ชั่นมีราคาดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

– แบบ Student จะใช้ได้ฟรีตลอด เพื่อการศึกษาผู้วิจัยสามารถโหลดแบบนี้ได้เลยไม่เสียเงิน สามารถคลิกไปที่   LISREL10StudentSetup.exe ตัวอักษรสีฟ้า ดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

แต่ของฟรีก็ย่อมมีข้อจำกัดดังนี้

– สามารถการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติขั้นพื้นฐานและการจัดการข้อมูลถูก จำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 20 ตัว
– การสร้างแบบจำลองสมการโครงสร้างถูก จำกัด ไว้ที่ตัวแปรที่สังเกตได้สูงสุด 16 ตัว
-การสร้างแบบจำลองหลายระดับถูกจำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 15 ตัว
– การสร้างแบบจำลองเชิงเส้นทั่วไปถูกจำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 20 ตัว
– ตัวเลือกส่งออกข้อมูลบนเมนูไฟล์ถูกจำกัด ไว้ที่ ASCII ไฟล์ที่คั่นด้วยแท็บและคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค
– สามารถนำเข้าไฟล์ข้อมูล ASCII, tab-delimited และ comma-delimited ได้โดยใช้ตัวเลือก Import Data

5. ในบทความนี้เราจะแนะนำให้โหลดแบบ Student มาใช้

พอคลิกไปที่   LISREL10StudentSetup.exe ตัวอักษรสีฟ้า ตามขั้นตอนที่ 4 จะขึ้นหน้าต่างดังรูป ให้คลิกไฟล์เพื่อดาวน์โหลดได้เลย

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

6. รอให้ไฟล์โหลดเสร็จ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

7. ดับเบิ้ลคลิกไฟล์ LISREL ขึ้นมา

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

8. กดปุ่ม Next เรื่อยๆ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

9. กดปุ่ม Finish เป็นอันเสร็จสิ้น

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

เป็นอย่างไรกันบ้างคะโหลดโปรแกรม LISREL เสร็จแล้ว ในเวอร์ชั่น LISREL 10 ซึ่งเวอร์ชั่นนี้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุดเลยค่ะ มีฟังก์ชั่นใหม่ให้ผู้วิจัยได้เรียนรู้อีกเพียบไว้จะมาอธิบายเพิ่มเติมให้นะคะ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

เคล็ดลับคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างไรให้ลงตัว

สําหรับบทความนี้ ทางเราจะมาเปิดเผย “เคล็ดลับสําหรับการคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย” ว่าจะคุยอย่างไร เพื่อให้สามารถทำวิจัยจบไปได้โดยเร็วที่สุด

พบกับ 3 เคล็ดลับง่ายๆ ที่จะทําให้งานวิจัยสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

เคล็ดลับที่ 1: หาสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยสนใจ

สำหรับเคล็ดลับแรก คือ หาสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยสนใจ เพื่อให้ท่านแนะนำในการทำงานวิจัยที่อาจารย์ท่านมีความถนัด และให้คำแนะนำได้อย่างสะดวก และง่ายต่อการดำเนินงานวิจัยของผู้วิจัยด้วย

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

เพราะการทําสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และดําเนินการให้คําปรึกษาได้โดยสะดวก ได้ง่ายกว่าทําตามสิ่งที่ผู้วิจัยสนใจ

ดังนั้น การทําตามคําแนะนำเพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้ให้คําแนะนําได้อย่างลงตัว และสามารถที่จะดําเนินการแก้ปัญหาการวิจัยไปได้โดยสะดวกราบรื่น

เคล็ดลับที่ 2: หางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่สนับสนุนความถนัดของอาจารย์ที่ปรึกษาได้

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คือ ผลงานวิจัยที่มีการศึกษาค้นคว้าสำเร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งตรงกับความสนใจ หรืออยู่ในความถนัดของอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ที่จะให้คําแนะนํากับผู้วิจัยมือใหม่ทุกท่านได้

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

เนื่องจาก อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยแต่ละท่านมีความถนัดที่ต่างกัน จึงจําเป็นที่จะต้องนําคําแนะนําจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย พร้อมทั้งนํามาศึกษาหางานวิจัยที่อ้างอิงที่มีการศึกษาสําเร็จลุล่วงไปแล้ว นํามาค้นคว้าต่อยอดจากงานวิจัยดังกล่าว ในการนํามาประยุกต์ใช้เป็นงานวิจัยของตนเอง จะทําให้ผู้วิจัยมือใหม่ทุกท่านสามารถที่จะทํางานวิจัยสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

เคล็ดลับที่ 3: “งานวิจัยที่รุ่นพี่ หรือเพื่อนที่อาจารย์ที่ปรึกษาจัยท่านนี้ให้คําแนะนําสําเร็จลุล่วงไปแล้ว”

สอบถามจากผู้วิจัยท่านอื่น รุ่นพี่  หรือเพื่อนที่ได้ทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยท่านนี้เป็นผู้แนะนํา ให้คำปรึกษาสำเร็จเรียบร้อยแล้ว 

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

โดยขอศึกษาจากเนื้อหางาน วิธีการดำเนินงานวิจัย ตารางการเข้าติดต่อพบกับอาจารย์ที่ปรึกษา จากรุ่นพี่ หรือเพื่อนที่ได้เคยร่วมงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยท่านนี้

จะทำให้ทราบแนวทางการดําเนินงานอย่างไร และควรวางแผนรับมือคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างไร เพื่อที่จะประสานงานระหว่างผู้วิจัยมือใหม่กับอาจารย์ที่ปรึกษาให้ลงตัวมากที่สุด

ดังนั้น 3 เคล็ดลับสําหรับการคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย จึงจําเป็นที่จะต้องยึดตัวอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นหลัก แล้วค่อยปรับจูนประสานงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย โดยที่ทั้งสองฝ่ายต่างคนต่างถอยคนละก้าว เพื่อให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ

หลักการเขียนบทความวิชาการ

หลายท่านที่เป็นนักวิจัยมือใหม่ที่จำเป็นที่จะต้องเขียนบทความวิชาการเพื่อนำเสนอส่งตีพิมพ์ให้กับวารสารทางวิชาการต่างๆ นั้นประสบปัญหาในการที่จะเขียนอ้างอิงอย่างถูกต้อง เพราะไม่รู้ว่าจะต้องเขียนในรูปแบบใด

การเขียนอ้างอิงบทความวิชาการในปัจจุบันนั้น มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามข้อกำหนดของแต่ละสถาบันหรือแต่สำนักวารสารนั้น การที่จะเขียนอ้างอิงบทความเชิงวิชาการให้ถูกต้อง 

สิ่งแรกที่ท่านต้องคำนึงถึงก่อนคือ สถานที่ตีพิมพ์ แหล่งตีพิมพ์กับวารสารแห่งใด ซึ่งจะทำให้ท่านทราบว่าข้อกำหนดของการจัดพิมพ์ที่ถูกต้องนั้นควรจะจัดพิมพ์ในรูปแบบใด และต่อไปนี้คือ 3 เทคนิคในการเขียนอ้างอิงอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

1. เขียนอ้างอิงโดยใช้ปีที่อัปเดต

ไม่ว่าท่านจะเขียนอ้างอิงในรูปแบบใด หลักการที่สั้นและกระชับที่สุดและเป็นเทคนิคที่นักวิจัยส่วนใหญ่เลือกใช้คือปีที่นำมาเขียนอ้างอิงของแหล่งอ้างอิงดังกล่าวจะต้องเป็นปีที่ใหม่ที่สุด ส่วนใหญ่แล้วหลักการเขียนอ้างอิงบทความวิชาการที่ถูกต้อง คือ ปี พ.ศ. ที่ใช้แหล่งอ้างอิงที่มีเนื้อหาที่ทันสมัยที่สุด มาใช้ในการสนับสนุนแนวคิด ทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในงานวิจัยที่เราทำการศึกษา

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ฉะนั้น แหล่การสืบค้นข้อมูลงที่ใช้ในการอ้างอิงผลงานวิจัย จะต้องมีเนื้อหางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือแหล่งข้อมูลออนไลน์ในการศึกษาที่ทันสมัย และมีความเป็นปัจจุบัน อาทิเช่น ศูนย์องค์กรวิจัยของภาครัฐ หรือภาคเอกชนต่างๆ และจำเป็นที่จะต้องคำนึงรูปแบบที่ใช้ในการอ้างอิงของแหล่งที่จะส่งตีพิมพ์ได้

2. เขียนอ้างอิงตามรูปแบบที่แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่นั้นกำหนดไว้

หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่ไม่สามารถเขียนอ้างอิงได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากว่าไม่รู้มาก่อนว่าจะต้องมีการอ้างอิงข้อมูลจากทางวารสารวิชาการ ซึ่งวารสารวิชาการที่เป็นรายเดือนหรือรายปีก็จะมีข้อกำหนดในการที่จะจัดพิมพ์ที่แตกต่างกันไป 

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ดังนั้น ก่อนที่ท่านจะทำการส่งตีพิมพ์ ท่านจึงจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาข้อมูลการตีพิมพ์ของแหล่งตีพิมพ์นั้นก่อน เพื่อที่จะจัดพิมพ์แหล่งอ้างอิงตามที่ทางวารสารกำหนดได้อย่างถูกต้อง

3. อย่าลืมบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิง

การเขียนผลงานทางวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นบทความวิชาการ ผลงานวิจัย บทความวิจัย หรือเอกสารทางวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องนั้น การบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงยังคงเป็นสิ่งที่สำคัญอยู่เสมอ เนื่องจากการส่งตีพิมพ์นั้นจะมีคณะกรรมการที่คอยทำการตรวจสอบเนื้อหาของท่านเพื่อการอนุมัติการส่งตีพิมพ์ผลงานดังกล่าว

หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่ไม่รู้ว่าการเขียนผลงานวิชาการนั้น จำเป็นที่จะต้องบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงไว้ทุกครั้ง เพราะในการตรวจสอบเนื้อหาจากคณะกรรมการนั้นจะมีการเรียกขอตรวจสอบแหล่งอ้างอิงหรือเรียกดูแหล่งข้อมูลที่ท่านนำมาด้วย เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าแหล่งอ้างอิงที่ท่านใช้ในเนื้อหางานวิชาการของท่านนั้นถูกต้องและชัดเจนเพียงพอ

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

แต่หากท่านไม่ได้บันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงเอาไว้ ก็จะไม่สามารถยืนยันหรือเน้นย้ำได้ว่าผลของการวิจัยครั้งดังกล่าวนี้สอดคล้องกับงานวิจัยหรือสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีใดอย่างไรบ้าง

ซึ่งอาจจะทำให้ท่านต้องพบกับปัญหาในการหาแหล่งอ้างอิงใหม่เพื่อนำมาเชื่อมโยงหรือสอดคล้องกับผลลัพธ์งานวิจัยของท่านอีกครั้ง

จะเห็นได้ว่าการเขียนแหล่งอ้างอิงที่ถูกต้องในบทความวิชาการนั้นจำเป็นต้องฝึกฝนและพัฒนาอยู่เสมอ โดยเฉพาะการเขียนแหล่งอ้างอิงที่มีความซับซ้อนและมีรายละเอียดสูง ยิ่งจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะความรู้ความสามารถในการเขียนอ้างอิงถือว่าเป็นสิ่งหนึ่งที่ท่านต้องฝึกฝนและพัฒนาให้เกิดขึ้นเพื่อยกระดับผลงานวิชาการของท่านให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ

เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วสำหรับนักวิจัยว่าการวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพนั้น จำเป็นจะต้องใช้เวลาเป็นอย่างมากในการอ่านรวบรวมและเรียบเรียง เพื่อที่จะวิเคราะห์เนื้อหานั้นออกมาทำการสรุปสังเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอให้กับคณะกรรมการตรวจสอบ 

และในบทความนี้จะกล่าวถึง เคล็ดลับที่จะช่วยในการประหยัดระยะเวลาในการวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพอย่างมีแนวคิดกระบวนการทำงานที่ถูกต้อง

1. จัดหมวดหมู่ของข้อมูลจำแนกเป็นรายด้านหรือรายปัจจัย

การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลจำแนกเป็นรายด้านหรือรายปัจจัยเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการที่จะทำงานวิจัยเชิงคุณภาพให้ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มีการใช้แบบสัมภาษณ์ หรือใช้การสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการวิจัย และเมื่อได้ข้อมูลเหล่านั้นมาแล้ว ก็จะมีการถอดความหรือถอดเทปจากการสัมภาษณ์อีกครั้ง

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การถอดเทปหรือการถอดแบบสัมภาษณ์ที่ดีนั้นต้องมีการจัดหมวดหมู่ของข้อคำถามเอาไว้ และนำคำตอบที่ได้จากแบบสัมภาษณ์เหล่านั้นมาไว้ในข้อคำถามหรือหมวดหมู่เดียวกัน

จากนั้นเรียงลำดับรหัสข้อมูลตามเลขบุคคลที่ให้สัมภาษณ์ลำดับก่อนหลัง เพื่อที่จะสามารถเรียงลำดับข้อมูลการให้สัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญเหล่านี้ได้อย่างเป็นระบบ และสามารถนำมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว

2. วิเคราะห์บทสัมภาษณ์จำแนกเป็นรายกลุ่ม

การสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการวิจัย บางครั้งนั้นจะอาศัยการสัมภาษณ์จากกลุ่มผู้นำชุมชนหรือกลุ่มตัวแทนภาครัฐ กลุ่มตัวแทนภาคเอกชน หรือกลุ่มอื่นๆ ที่มีตัวแทนอยู่ในกลุ่มแวดวงเดียวกัน

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การที่จะจำแนกกลุ่มต่างๆ นั้น ท่านต้องทำการกำหนดรหัสของกลุ่มข้อมูลเอาไว้ และนำข้อมูลการให้สัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญมาถอดเทปหรือถอดแบบสัมภาษณ์จำแนกออกมาแยกแยะได้เป็นรายกลุ่ม เพื่อที่จะสามารถรวมกลุ่มข้อมูลในกลุ่มเดียวกันเอาไว้ใช้ในการวิเคราะห์บทสัมภาษณ์ต่อไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว

3. สังเคราะห์และสรุปให้เป็นวิชาการพร้อมยกตัวอย่างบทสัมภาษณ์

หลังจากที่ท่านถอดเทปแบบสัมภาษณ์ของผู้ให้ข้อมูลสำคัญเรียบร้อยแล้ว ท่านต้องนำข้อมูลสำคัญเหล่านั้นมาสังเคราะห์เรียบเรียงให้เป็นภาษาวิชาการ โดยการจับประเด็นหลักจากข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ตีความเพื่อให้เชื่อมโยงกับแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ได้มาเหล่านั้น รวมทั้งทำการสรุปแบบสัมภาษณ์ออกมาเป็นภาพรวมทั้งหมดจากข้อคำถามเดียวกัน

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

เมื่อทำการสรุปสังเคราะห์ข้อมูลครั้งสุดท้ายแล้ว ภาพรวมที่ออกมาจะต้องสามารถมองเห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญเหล่านี้ให้สัมภาษณ์ในทิศทางไหน และมีความสอดคล้องกันอย่างไรบ้าง เพื่อที่จะนำไปสังเคราะห์ประเด็นสำคัญออกมาเป็นผลการวิจัยหลักของงานวิจัยเชิงคุณภาพชิ้นดังกล่าวได้

ดังนั้นการที่จะทำให้งานวิจัยเชิงคุณภาพสำเร็จลุล่วงไปได้ ท่านจำเป็นที่จะต้องเรียงลำดับข้อมูลที่วิเคราะห์ออกมา มีการจัดหมวดหมู่ พร้อมทั้งจัดกลุ่มเรียบเรียงนำเสนอเป็นภาษาวิชาการ เพื่อที่จะนำเสนอข้อมูลสำคัญดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

จะรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมีคุณภาพ

ในกระบวนการสร้างเครื่องมือ (แบบสอบถาม) ขึ้นมาเพื่อใช้ในงานวิจัยนั้น ทางบริษัทฯ เราทราบดีว่า ผู้วิจัยหลายท่านยังไม่เข้าใจในเรื่องการทดสอบได้ดีมากนัก เนื่องจากมีผู้ทำวิจัยหลายท่านเข้ามาสอบถามกระบวนการดังกล่าวกับบริษัทมากมาย 

บทความนี้สามารถจะอธิบายถึงกระบวนการทดสอบว่าเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยของท่านมีคุณภาพตามมาตรฐานกำหนดหรือไม่

ในการทดสอบคุณภาพของแบบสอบถามนั้น ผู้วิจัยจะต้องนำแบบสอบถามที่จะใช้ทดสอบไปหาความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) 

ซึ่ง การหาความเที่ยงตรง (Validity) ผู้วิจัยจะต้องนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) ผ่านกระบวนการตรวจสอบจาก IOC (Item-Objective Congruence Index)  ของคำถามในแต่ละข้อว่าตรงตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้หรือไม่ ตามภาพ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

หลังจากนั้นก็นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อดำเนินการในขั้นตอนต่อไป สำหรับการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วิจัยจะต้องหาความเชื่อมั่นโดยนำแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มประชากรที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จำนวนประมาณ 30-40 คน แล้วนำมาทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 

โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ  โดยค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่ทดสอบจะต้องได้มากกว่าหรือเท่ากับ 0.70 ถึงจะถือว่า แบบสอบถามนั้นนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้จริง หากไม่ถึงเกณฑ์จะต้องปรับข้อคำถามใหม่ หลังจากนั้นจึงนำไปให้กลุ่มตัวอย่างตอบคำถาม ตามภาพ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

ขบวนการดังกล่าวจะอยู่ในบทที่ 3 ในหัวข้อการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมืองานวิจัยหากท่านทำกระบวนการนี้ไม่ผ่านสักที บริษัทเรามีเคล็บลับในการทำสิ่งนี้ให้ผ่านภายในเวลาอันรวดเร็ว โดยที่ท่านสามารถรอได้เลย สามารถติดต่อบริษัทได้ทางช่องทางที่ให้ไว้

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

4 ขั้นตอนง่ายๆ ในการวิเคราะห์สถิติ

ผู้วิจัยมือใหม่ที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเชิงปริมาณ จำเป็นจะต้องทำการวิเคราะห์สถิติจากข้อมูลแบบสอบถาม โดยใช้โปรแกรมสถิติเพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่จะใช้ในการวิจัยและทดสอบสมมติฐานการวิจัย

ซึ่งหลายท่านมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับสถิติที่จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติไม่เท่ากัน ดังนั้นการที่ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้องนั้นควรเริ่มต้นอย่างไร เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดได้โดยง่าย

1. ศึกษาตัวอย่างการวิเคราะห์สถิติที่ใช้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะทำให้ท่านทราบว่างานวิจัยที่ใกล้เคียงกับหัวข้อที่ท่านทำการศึกษาอยู่นั้นใช้สถิติใดในการวิเคราะห์ และใช้โปรแกรมใดในการวิเคราะห์สถิติ 

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

หากสามารถหาตัวแปรหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ทำการศึกษาได้ ว่างานวิจัยเล่มดังกล่าวนั้นใช้สถิติในการวิเคราะห์ประเภทใด จะทำให้ทราบแนวทางของการใช้สถิติ เพื่อนำมากำหนดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลของเล่มงานวิจัยของท่านได้

2. ศึกษาคลิปวีดีโอสอนทำจาก YouTube 

หลังจากทำการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาแนวทางหรือรูปแบบการใช้สถิติในการวิจัยแล้ว ขั้นตอนต่อไปควรจะต้องกำหนดสถิติใดในที่จะใช้ในการวิเคราะห์หรือทดสอบสมมติฐานการวิจัยสำหรับตัวแปรที่ท่านทำการศึกษาอยู่

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ท่านสามารถพิมพ์ชื่อสถิติดังกล่าวใน YouTube เพื่อค้นหารูปแบบวิธีการทำ เรียนรู้และพัฒนาให้ตนเองดำเนินการวิเคราะห์ได้ตามตัวอย่างที่ทำการศึกษา ซึ่งจะทำให้ท่านป้องกันข้อผิดพลาดในการวิเคราะห์ข้อมูลได้

3. ฝึกฝนทดลองทำ

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนต่อเนื่องหลังจากการเรียนรู้จาก YouTube ว่ามีกระบวนการเบื้องต้นอย่างไร ต้องใช้สถิติใดในการทดสอบตัวแปรไหนจากเล่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว การทดลองทำจะทำให้ท่านทราบว่าเป็นไปได้หรือไม่

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ในการทดสอบตัวแปรด้วยสถิติที่ทำการศึกษาค้นคว้ามา จะทำให้ท่านทราบว่าการทดสอบที่ทำไปนั้นเกิดจุดบกพร่องขึ้นในกระบวนการหรือขั้นตอนใด เพื่อให้ท่านสามารถค้นหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สามารถรันผลสถิติที่ใช้ในการวิจัยได้อย่างตลอดรอดฝั่ง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์เพื่อให้ท่านมีความเชี่ยวชาญในการทดสอบตัวแปรหรือวิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยมากขึ้น

4. ให้อาจารย์ที่ปรึกษาช่วยตรวจสอบและปรับปรุง

เนื่องจากผู้วิจัยมือใหม่หลายท่านไม่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิจัย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยตรวจสอบและให้คำแนะนำ ท่านจึงจะทราบแนวทางว่าสถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์นั้นถูกต้องหรือไม่ หรือควรแก้ไขปรับปรุงอย่างไร

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำให้แนวทางแก้ไขจะเป็นประโยชน์ต่อท่านในการที่จะเพิ่มพูนความรู้ที่จะใช้ในการวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการวิจัยให้มากยิ่งขึ้น

หากท่านทราบขั้นตอนที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ท่านจะทราบว่ากระบวนการทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ท่านสามารถทำการเรียนรู้ได้ ดังนั้นหากท่านเป็นมือใหม่ด้านการวิจัยและไม่รู้ว่าจะทำการศึกษาวิจัยด้วยสถิติใด การประยุกต์ใช้ขั้นตอนทั้งหมดที่ได้กล่าวมากับงานวิจัยของท่านก็จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

เหตุผลอะไร ที่คนส่วนใหญ่จึงไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความเข้าใจในสถิติพื้นฐาน โดยผู้ที่ใช้โปรแกรม SPSS เป็น ต้องรู้จักและเข้าใจการวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย 

ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด เพราะว่าค่าสถิติพื้นฐานจะเป็นการวิเคราะห์เริ่มต้น ที่นำไปสู่การทดสอบสมมติฐาน ตามที่วัตถุประสงค์การวิจัยได้ตั้งไว้

แต่สถิติ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะเข้าใจ ซึ่งแน่นอนที่คุณจะต้องเจอกับตัวเลข เป็นจำนวนมาก หากบางคนไม่มีพื้นฐานทางด้านสถิติ จะทำให้เกิดการเบื่อหน่าย ปวดหัว และมึนงง เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถดูแล้วเข้าใจได้โดยทันที  ดังที่มาร์ยัม เมอร์ซาคานี กล่าวไว้ว่า คณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องสำหรับทุกคน

ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่คนส่วนใหญ่ไม่อยากจะเสียเวลาเข้าใจโปรแกรม SPSS  บทความนี้จึงจะนำพาคุณมาวิเคราะห์ถึง 3 เหตุผลที่คนส่วนใหญ่ไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง เพื่อประมวลผลการวิจัยเองดังนี้

1. ไม่อยากทำความเข้าใจเกี่ยวเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS สำหรับงานวิจัย สามารถแยกย่อยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 

ประเภทที่ 1 สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้กับข้อมูลง่ายๆ มีวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น

ประเภทที่ 2 สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยต้องใช้พื้นฐานของสถิติเชิงพรรณามาช่วยในการค้นหาคำตอบข้อเท็จจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Regression)

แค่ทั้ง 2 ประเภทใหญ่ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็ยากต่อการเข้าใจแล้ว แต่ที่ยากไปกว่านั้นคือการเลือกใช้สถิติแต่ละตัว ซึ่งผู้วิจัยต้องดูประเภทข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวด้วยว่า ตัวแปรไหนสามารถนำมาทดสอบสมมติฐานได้บ้าง ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. เลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์ไม่ตรงกับประเภทข้อมูล

คงเป็นเรื่องยาก ที่คุณต้องมานั่งศึกษาใหม่ว่าข้อมูลประเภทไหน สามารถนำไปทดสอบประเภทไหนได้บ้าง ถ้าเปรียบก็คงเหมือนการไปเริ่มเรียน ก-ฮ ใหม่ เพราะว่านอกจากภาระหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบแล้ว เรื่องที่ทำให้ปวดหัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวิเคราะห์สถิติ 

เพราะ การวิเคราะห์สถิติ นั้นในข้อมูลแต่ละประเภทจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างกันออกไป หากเลือกประเภทข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สถิติผิด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผล หรือแสดงผล Error ออกมา ทำให้ผู้วิจัยไม่รู้จะสอบถามใคร ไปต่อไม่ได้

หากผู้วิจัยคนไหนต้องการจะวิเคราะห์ SPSS แปลผลข้อมูลเอง อันดับแรกควรจะทำการศึกษาประเภทของข้อมูลก่อนว่า ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นอย่างไร และข้อมูลประเภทไหนใช้กับสถิติอะไรได้บ้าง 

3. ไม่เข้าใจการทดสอบสมมติฐาน

จากการที่ไม่เข้าใจการเลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์กับประเภทข้อมูลแต่ละประเภท ทำให้ผลโปรแกรมวิเคราะห์ SPSS ออกมา  Error คนส่วนใหญ่จึงไม่รู้จะทำอะไรต่อ และไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ส่งผลให้ทดสอบสมมติฐานไม่ได้ด้วยเช่นกัน 

ยกตัวอย่าง สถานการณ์ที่เจอปัญหา ดังเช่น ข้อคำตอบไหนที่มีกลุ่มตัวอย่างตอบเพียงคนเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA จะออกมา Error ดูจากรูปจะพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 50 ปีขั้นไป เพียงแค่ 1 ท่าน ที่มีการตัดสินใจเล่นกีฬา เมื่อนำมาวิเคราะห์ One Way ANOVA ผลตารางของ Post hoc จะไม่ออก 

ดังนั้นถ้าผลออกมาว่าอายุเป็นตัวแปรที่ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเล่นกีฬา จะไม่สามารถตอบได้ว่ากลุ่มอายุไหนบ้างที่ตัดสินใจเล่นกีฬา แล้วกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุไหนเล่นกีฬาอะไรบ้าง 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

จาก 3 เหตุผลดังกล่าวก็ทำให้หลายท่านตอบคำถามตัวเองได้แล้วว่า เราควรเสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง หรือไม่ หากเจอปัญหา ผลโปรแกรม Error จะแก้ไขปัญหาเองได้หรือไม่ เมื่อได้คำตอบนั้นแล้วลองปรึกษาบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสถิติ เพื่อขอคำแนะนำและทำให้การทำงานวิจัยของคุณให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย ไม่ยากอย่างที่คิด!

แบบสอบถามงานวิจัย เป็นเครื่องมือการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยชุดคำถาม ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชื่อ และความสนใจต่างๆ ที่เตรียมไว้สำหรับให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกตอบหรือเติมคำ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย 

ซึ่งการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยนั้น ข้อคำถามจะถูกสร้างขึ้นจากกรอบแนวความคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือต้องการวัด ซึ่งข้อคำถามที่ใช้ถาม ต้องมีเหมาะสมกับประเด็นที่จะวัด โดยจะมีหลักการในการสร้างเพื่อตามขั้นตอนดังนี้

1. พิจารณาหัวข้อปัญหาและวัตถุประสงค์

ในปัจจุบันพบว่า มีหลายงานวิจัยที่ไม่สามารถเลือกใช้แบบสอบถามได้อย่างเหมาะสมกับงานวิจัยของตนเองได้ เนื่องจากตั้งคำถามไม่ตรงกับลักษณะ หรือพฤติกรรม ของผู้ตอบแบบสอบถามจึงทำให้ ผลการวิจัยที่ออกมาไม่ตอบกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ ดังนั้นการทราบปัญหาการวิจัย และการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ถือเป็นเข็มทิศในการเดินทาง ที่จะทำให้ทราบจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยเลยทีเดียว 

ก่อนอื่นคุณต้องทราบปัญหาของงานวิจัยก่อน ว่างานวิจัยที่ทำอยู่นั้นมีปัญหาอะไร? 

ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งพนักงานไม่มีแรงจูงใจในการทำงาน พนักงานจึงมีการขาด ลา และมาสาย อยู่เป็นประจำ ทำให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากปัญหาดังกล่าวอาจเป็นเพราะปัจจัยต่างๆ เช่น พนักงานรู้สึกว่าตนเองได้รับค่าจ้างที่ไม่คุ้มค่ากับงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนร่วมงานไม่ดี หรือไม่มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งนี้ 

จึงตั้งวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาสาเหตุการขาด ลา และมาสายของพนักงาน และศึกษาปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทดังกล่าว 

ดังนั้นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเพื่อที่จะสร้างแบบสอบถามงานวิจัย โดยจะต้องศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Clayton Alderfer ที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีความต้องการ Maslow มาปรับใช้ได้ ซึ่งจะกล่าวถึงวิธีพิจารณารูปแบบการตั้งคำถามในขั้นตอนต่อไป

2. พิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้

ในการพิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้ คุณสามารถหยิบยกข้อคำถามจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ได้ เช่น ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Alderfer สรุปว่า ความต้องการของมนุษย์สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่

E ตัวแรกคือ ความต้องการเพื่อการดำรงชีวิต (Existence needs = E) เป็นความต้องการจาก ค่าจ้างเงินโบนัส และผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ดี ดังนั้นข้อคำถามที่ควรตั้ง อาจจะเป็นการสอบถาม ความพอใจที่ได้รับค่าจ้างหรือโบนัสสิ้นปี หรือสภาพการทำงานที่ได้รับว่าเหมาะกับค่าจ้างหรือไม่ เป็นต้น

R ตัวที่สองคือ ความต้องการทางด้านความสัมพันธ์ (Relatedness needs = R) เป็นความต้องการทางสังคมที่ต้องการการยอมรับจากหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ซึ่งข้อคำถามที่ควรตั้งเช่น ท่านสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมได้เป็นอย่างดีหรือไม่ หรือท่านได้รับการยกย่องจากหัวหน้าเมื่อทำงานได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นต้น

G ตัวที่สามคือความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs = G) เป็นความต้องการเติบโตจากหน้าที่การงาน ข้อคำถามที่ควรตั้ง เช่น ท่านได้รับพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งอยู่เสมอ เป็นต้น

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถนำทฤษฎีมาปรับใช้เป็นแนวทางในการตั้งข้อคำถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขปัญหาวิจัยได้ ซึ่งข้อคำถามที่ตั้งนั้น ควรสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงระดับความคิดเห็น หรือเรียกว่าข้อคำถามแบบมาตรวัด scale ซึ่ง

5 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมากที่สุด 
4 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมาก
3 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นปานกลาง
2 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อย
1 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อยที่สุด 

3. ร่างแบบสอบถาม

เมื่อได้ข้อคำถามที่สอบถามแล้ว ผู้วิจัยต้องทำการรวบรวมคำถามโดยแบ่ง เป็นด้านตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ศึกษา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยอาจจะร่างข้อคำถามในกระดาษ หรือสร้างข้อคำถามในโปรแกรม Word เลยก็ได้เช่นกัน

4. ตรวจสอบแบบสอบถาม

เมื่อร่างข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยควรตรวจทานข้อคำถามก่อนว่าอ่านรู้เรื่องหรือไม่ มีคำผิดหรือไม่ แล้วข้อคำถามสอดคล้องกับสถานการณ์จริงหรือไม่ หากตรวจทานดูแล้วควรส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความคล้องอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงข้อคำถามต่อไป 

ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า วิธีการทำ IOC ในการทดสอบนี้หากคะแนนของผู้เชี่ยวชาญที่ให้คะแนนแต่ละข้อคำถามรวมกัน หารจำนวนผู้เชี่ยวชาญ แล้วได้ค่าคะแนนแต่ละข้อมากกว่า 0.5 จึงถือว่าผ่าน สามารถนำไปทดสอบแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาได้

5. ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try-out)

เมื่อตรวจสอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว การทำการทดลองแบบสอบถามถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัย จะต้องทำอีกกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงความชัดเจนในทุกๆ ด้านของข้อคำถาม หากข้อคำถามมีความชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อ่านจะเข้าใจตรงกัน เนื่องจากแบบสอบถามมีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รัดกุม ไม่มีความบกพร่องทางภาษา ทำให้การตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน 

ซึ่งวิธีการดังกล่าวเรียกว่า วิธีการ Try-out เป็นการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาประมาณ 30 คน ในการทดสอบครั้งนี้ 

หากคำตอบของกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีการแปลความหมายมาแล้วว่ามีความสอดคล้องกัน จะต้องมีค่าคะแนนของค่า Reliability มากกว่า 0.7 ขึ้นไป จะทำให้การ Try-out ในครั้งนี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะสามารถนำแบบสอบถามนี้ไปสร้างเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ได้ 

หากค่าคะแนนของค่า Reliability น้อยกว่า 0.7 อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจนหรือยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ ควรต้องมีการแก้ไขแล้วปรับปรุงในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องต่อไป

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม

เมื่อทราบค่าคะแนนของค่า Reliability ว่าน้อยกว่า 0.7 ผู้วิจัยควรดูข้อเสนอแนะที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอไว้ และนำมาปรับปรุง ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ค่า Reliability น้อยกว่าเกณฑ์อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจน ยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามก็เป็นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรแก้ไข ปรับปรุงข้อคำถามใหม่ และนำไป Try-out อีกครั้ง 

7. สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

เมื่อแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยสามารถสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และนำไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างได้ทันที

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัยข้อคำถามจะดีหรือไม่ดีนั้น ขึ้นอยู่ว่าคุณตั้งคำถามได้ตรงจุดหรือไม่ หากคุณตั้งคำถามที่ยากเกินไป หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบ จะทำให้ผู้ตอบไม่อยากตอบ เพราะไม่เข้าใจ ในขณะเดียวกันหากข้อคำถามมีปริมาณข้อคำถามที่เยอะเกินไป จนทำให้สร้างความกังวลใจกับผู้ตอบ จะส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบ ซึ่งเป็นผลเสียกับคุณเอง ทำให้ไม่ได้คำตอบที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)